ระเบียบกรมการบินพลเรือนว่าด้วยมาตรฐานของระเบียบเกี่ยวกับกระบวนการการดำเนินงานสนามบิน พ.ศ. ๒๕๕๗


"พื้นที่เคลื่อนไหว" (movement area) หมายความวา ส่วนของสนามบินซึ่งใชสำหรับ การขึ้น ลง และขับเคลื่อนของอากาศยาน ประกอบดวยพื้นที่ขับเคลื่อนและลานจอดอากาศยาน "พื้นที่ขับเคลื่อน" (manoeuvring area) หมายความวา ส่วนของสนามบินซึ่งใชสำหรับ การขึ้น ลง และขับเคลื่อนของอากาศยาน แตไมรวมถึงลานจอดอากาศยาน

ระเบียบกรมการบินพลเรือน

วาด้วยมาตรฐานของระเบียบเกี่ยวกับกระบวนการการดำเนินงานสนามบิน

พ.ศ. ๒๕๕๗

.......................................................................................................

อธิบดีกรมการบินพลเรือน

จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา "ระเบียบกรมการบินพลเรือนว่าดวยมาตรฐานของระเบียบเกี่ยวกับ

กระบวนการการดำเนินงานสนามบิน พ.ศ. ๒๕๕๗"

ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ เป็นต้นไป

ขอ ๓ ระเบียบนี้ใหใชบังคับกับที่ขึ้นลงชั่วคราวอนุญาตที่เปิดใหบริการแก่สาธารณะด้วย

ขอ ๔ ในระเบียบนี้

"เขตการบิน" (airside) หมายความว่า พื้นที่เคลื่อนไหวของสนามบิน ตลอดจนพื้นดินและ

อาคารที่เชื่อมต่อกับพื้นที่เคลื่อนไหวดังกล่าว ซึ่งมีการควบคุมการเข้าไปยังพื้นที่นั้นดวย

"พื้นที่เคลื่อนไหว" (movement area) หมายความวา ส่วนของสนามบินซึ่งใชสำหรับ

การขึ้น ลง และขับเคลื่อนของอากาศยาน ประกอบดวยพื้นที่ขับเคลื่อนและลานจอดอากาศยาน

"พื้นที่ขับเคลื่อน" (manoeuvring area) หมายความวา ส่วนของสนามบินซึ่งใชสำหรับ

การขึ้น ลง และขับเคลื่อนของอากาศยาน แตไมรวมถึงลานจอดอากาศยาน

"ลานจอดอากาศยาน" (apron) หมายความวา พื้นที่ที่กำหนดไวในสนามบินซึ่งมีไวสำหรับ

รองรับอากาศยานเพื่อวัตถุประสงคQในการขึ้นลงอากาศยานของผูโดยสาร การขนถายไปรษณียภัณฑQหรือสินคา

การเติมเชื้อเพลิง การจอดหรือการบำรุงรักษา

"สนามบิน" หมายความวา สนามบินอนุญาตที่เปAดใหบริการแกสาธารณะ และใหหมายความ

รวมถึงที่ขึ้นลงชั่วคราวอนุญาตที่เปAดใหบริการแกสาธารณะดวย

"คูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ" หมายความวา คูมือการดำเนินงาน

สนามบินที่ไดรับความเห็นชอบจากอธิบดีตามระเบียบกรมการบินพลเรือนวาดวยมาตรฐานของคูมือ

การดำเนินงานสนามบิน

- ๒ -

ขอ ๕ ใหเจ้าของหรือผูดำเนินการสนามบินจัดให้มีระเบียบเกี่ยวกับกระบวนการการดำเนินงานของสนามบิน ซึ่งอย่างน้อยใหมีรายละเอียดในเรื่องดังตอไปนี้

(๑) ระบบการจัดการดานนิรภัยของสนามบิน (Safety Management System: SMS)

(๒) การรายงานขอมูลขาวสารของสนามบิน (aerodrome reporting)

(๓) การควบคุมการเขาเขตการบิน (control of airside access/access to aerodrome)

(๔) แผนฉุกเฉินของสนามบิน (aerodrome emergency plan)

(๕) การกูภัยและดับเพลิง (rescue and fire-fighting)

(๖) การตรวจพินิจพื้นที่เคลื่อนไหวและพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวาง (aerodrome inspection)

(๗) เครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศ ประเภทเครื่องชวยในการเดินอากาศดวย

ทัศนวิสัยและระบบไฟฟaาสนามบิน (visual aids and aerodrome electrical systems)

(๘) การบำรุงรักษาพื้นที่เคลื่อนไหว (maintenance of the movement area)

(๙) ความปลอดภัยในการกอสรางและบำรุงรักษาบริเวณสนามบิน (aerodrome works safety)

(๑๐) การบริหารจัดการลานจอดอากาศยาน (apron management)

(๑๑) การจัดการความปลอดภัยในลานจอดอากาศยาน (procedures to ensure apron

safety)

(๑๒) การควบคุมยานพาหนะในเขตการบิน (airside vehicle control)

(๑๓) การบริหารจัดการเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากสัตวQ (wildlife hazard management)

(๑๔) การควบคุมสิ่งกีดขวาง (obstacle control)

(๑๕) การเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของ (removal of disabled aircraft)

(๑๖) การจัดการกับวัตถุอันตราย (handling of hazardous materials)

(๑๗) การปฏิบัติการเมื่อทัศนวิสัยต่ำ (low – visibility operations)

(๑๘) การปaองกันสถานที่ติดตั้งเรดารQและเครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศ

ประเภทเครื่องชวยในการเดินอากาศ (protection of site for radar and navigational aids)

ขอ ๖ ระบบการจัดการดานนิรภัยของสนามบินใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอยตามที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือนและคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ โดยจัดใหมีหนวยงานรับผิดชอบในการดำเนินงานใหชัดเจน รวมทั้งแสดงรายละเอียดของกระบวนการดำเนินงานระบบการจัดการดานนิรภัยที่สอดคลองกับมาตรฐาน อยางนอยในรายการดังตอไปนี้

(๑) การทบทวนนโยบาย แผนการดำเนินงาน การกำหนดตัวชี้วัดและเป,าหมายดานความปลอดภัยที่เป-นป.จจุบันและสอดคล

องกับแผนนิรภัยในการบินพลเรือนแหงชาติ (State Safety Programme)

(๒) ระบบรายงานความปลอดภัยของสนามบิน ประกอบดวยการรายงานภาคบังคับ(mandatory reports) และการรายงานภาคสมัครใจ (voluntary reports) รวมทั้งระบบเอกสารดานความปลอดภัยทั้งหมดของสนามบิน

- ๓ -

(๓) การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานดานการจัดการดานนิรภัย ตามแผนงานที่กำหนดไว

(safety performance monitoring and measurement)

(๔) การสอบสวนเหตุการณ์ความไมปลอดภัยภายในสนามบินและรายงานผลการสอบสวน

(internal safety investigations) และการพัฒนาปรับปรุงระบบความปลอดภัยของสนามบิน

(๕) ปูมบันทึกประวัติการศึกษาและการฝRกอบรมของบุคลากรภายในสนามบิน

ขอ ๗ การรายงานขอมูลขาวสารของสนามบินตอหนวยบริการขาวสารการเดินอากาศ ใหมี

กระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอยตามที่กำหนดในคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ

ขอ ๘ การควบคุมการเขาเขตการบินใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานตามที่กำหนดใน

ขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือนและคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ โดยอยางนอย

ตองประกอบดวย

(๑) ระบบการควบคุมการเขาเขตการบิน เชน กระบวนการออกบัตรอนุญาตบุคคลยานพาหนะ เป็นต้น

(๒) การกำหนดแนวเขตของเขตการบิน พื้นที่เคลื่อนไหว และจุดควบคุมการเขา-ออก เขตการบิน

ซึ่งอาจรวมถึงการสรางแนวรั้วของพื้นที่ดังกลาวดวย

ขอ ๙ แผนฉุกเฉินของสนามบินใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอยตามที่

กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือนและคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ

ขอ ๑๐ การกูภัยและดับเพลิงใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอยตามที่

กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือนและคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ

ขอ ๑๑ การตรวจพินิจพื้นที่เคลื่อนไหวและพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวาง ใหมีกระบวนการที่มี

มาตรฐานและมีขอมูลอยางนอยตามที่กำหนดในคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ โดยใน

บัญชีรายการตรวจพินิจพื้นที่เคลื่อนไหวและพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวาง ใหประกอบดวยรายการอยางนอย

ดังตอไปนี้

(๑) การตรวจพินิจผิวพื้นจราจรของพื้นที่เคลื่อนไหวทั้งหมด เชน ทางวิ่ง ทางขับ ลานจอด

อากาศยาน และพื้นที่ตอเนื่องและควบคุมติดตามสภาพของพื้นที่ดังกลาวเป>นประจำ โดยมีวัตถุประสงคQในการ

ปaองกันและกำจัดเศษหินและวัตถุอื่น ๆ ซึ่งอาจเป็นอันตรายตออากาศยานหรือขัดขวางระบบการทำงานของ

อากาศยาน รวมถึงการตรวจพินิจเพื่อใหมั่นใจวาพื้นที่เคลื่อนไหวปราศจากความไมสม่ำเสมอของพื้นผิว การแตกราว

ของพื้นผิว ความเสียหายที่เกิดจากของเหลวที่มีฤทธิ์กัดกรอน สิ่งกีดขวางที่พื้นซึ่งปกคลุมไปดวยหญา แองน้ำ

และลักษณะความเสียหายอื่น ๆ ของผิวพื้นจราจรอาจกอใหเกิดภัยอันตรายแกอากาศยานไดในอนาคต

- ๔ -

(๒) ในกรณีที่ทางขับใชงานสำหรับอากาศยานประเภทเครื่องยนตQเทอรQไบนQ (turbine-engine)

ใหมีการตรวจพินิจพื้นผิวของไหลทางขับวาปราศจากเศษหินหรือวัตถุใด ๆ ซึ่งเครื่องยนตQของอากาศยาน

ดังกลาว อาจดูดเขาไปได

(๓) การตรวจสอบการทำเครื่องหมาย ไฟสนามบิน เครื่องบอกทิศทางลมและสัญญาณภาคพื้นดิน

(๔) การตรวจสอบนกหรือสัตวQที่อยูบนหรือใกลพื้นที่เคลื่อนไหว

(๕) การประเมินสภาพพื้นที่ปลอดภัยรอบทางวิ่งอยางคราว ๆ ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบและมาตรการเฝaาระวัง

(๖) การตรวจพินิจพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวาง รวมถึงมีการตรวจสอบสิ่งกีดขวางในสนามบินที่

ไดรับอนุญาตวามีการทาสี ทำเครื่องหมายและติดสัญญาณไฟที่เหมาะสม และในกรณีที่มีสิ่งกีดขวางที่ไมไดรับ

อนุญาตใหมีในสนามบิน ใหรายงานไปยังบุคลากรของสนามบินที่เกี่ยวของเพื่อดำเนินการเคลื่อนยาย

สิ่งกีดขวางดังกลาวโดยพลัน

นอกจากรายการตามวรรคหนึ่ง ระเบียบกระบวนการดำเนินงานในสวนนี้ ตองกำหนดชวงเวลา

และรายงานผลการตรวจพินิจ ดังนี้

(๑) การตรวจพินิจพื้นที่เคลื่อนไหวและพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวางในทุกวันที่มีเที่ยวบิน หรือ

หลังเกิดสภาพอากาศเลวรายหรือตามที่หนวยควบคุมการจราจรทางอากาศรองขอ

(๒) การจัดทำ รายงานผลการตรวจพินิจและการปฏิบัติการติดตามผลที่ทันทวงที

(follow-up actions) เพื่อใหมั่นใจวาไดมีการแกไขสภาพความไมปลอดภัยที่ตรวจพบแลว

ขอ ๑๒ เครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศประเภทเครื่องชวยในการเดินอากาศ

ดวยทัศนวิสัย และระบบไฟฟaาสนามบิน ใหมีกระบวนการในการตรวจพินิจเครื่องอำนวยความสะดวกดังกลาว

ใหเป>นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไวในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือนและมีขอมูลตามที่กำหนดใน

คูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ พรอมทั้งมีขอมูลในเรื่องดังตอไปนี้

(๑) การตรวจสอบไฟบอกตำแหนงสนามบิน (aeronautical beacons) ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบเกี่ยวกับความถูกต

องของสี อัตราการกระพริบของไฟ และระดับความเขมของแสง

(๒) การตรวจสอบไฟฉายสัญญาณ (signaling lamps) ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบเกี่ยวกับความถูกตองของสี และระดับความเขมแสง

(๓) การตรวจสอบเครื่องบอกทิศทางลม (Wind direction indicators) ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบเกี่ยวกับโครงสรางที่ติดตั้ง สภาพเครื่องบอกทิศทางลม โคมไฟสองสวาง และขนาดของแถบวงกลม (circular band)

(๔) การตรวจสอบการทำเครื่องหมาย (marking) ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบเกี่ยวกับตำแหนงที่ติดตั้ง ความชัดเจนในเวลากลางวันและกลางคืน ความถูกตองของสี ตลอดจนรูปแบบและขนาดของเครื่องหมายดังกลาว

- ๕ -

(๕) การตรวจสอบระบบไฟฟ,าสนามบิน (airfield lightings) ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบเกี่ยวกับระยะหางระหวางดวงไฟ ความถูกตองของสี ความเขมของแสงที่สามารถปรับเปลี่ยนไดอัตราการกระพริบของไฟ การตั้งคามุมของดวงไฟ คุณสมบัติในการแตกหักงาย เมื่อถูกชนหรือกระแทก พรอมทั้งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับผลการบินทดสอบ

(๖) การตรวจสอบป,ายสัญลักษณJ (signs) ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบเกี่ยวกับรูปแบบสัญลักษณJ ขนาดป,ายสัญลักษณJ ตลอดจนขนาดตัวเลขและตัวอักษรใหถูกตองและเป-นไปตามมาตรฐาน ตำแหนงที่ติดตั้งซึ่งสามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน และคุณสมบัติในการแตกหักงาย เมื่อถูกชนหรือกระแทก

(๗) การตรวจสอบระบบไฟฟ,าสำรอง ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบคาระยะเวลาการกลับมาใชงานไดอีกครั้งของอุปกรณJตาง ๆ กรณีไฟฟ,าหลักของสนามบินดับ (switch-over time) และการตรวจติดตามเพื่อใหสามารถระบุสถานะการทำงานของระบบไฟฟ,าสำรอง ใหเป-นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไวในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน

(๘) การตรวจสอบไฟแสดงสิ่งกีดขวาง ซึ่งตองประกอบดวยการตรวจสอบเกี่ยวกับตำแหนงที่ตั้ง และคุณสมบัติของดวงไฟใหเป-นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน

(๙) การตรวจสอบไฟสองลานจอดอากาศยาน (apron floodlighting) ซึ่งต

องประกอบดวย

การตรวจสอบตำแหนงที่ติดตั้ง และคุณสมบัติของดวงไฟใหเป-นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน

(๑๐) การตรวจสอบระบบไฟสัญญาณนำอากาศยานเขาหลุมจอดดวยทัศนวิสัย (visualdocking guidance system: VDGS) ซึ่งต

องประกอบดวยการตรวจสอบระบบการทำงาน สมรรถนะในการแสดงผลไดอยางชัดเจนในทุกสภาพอากาศ ตลอดจนความถูกตองในการแสดงผล ทั้งแบบการทำงานอัตโนมัติและแบบควบคุมดวยคน (manual)

ขอ ๑๓ การบำรุงรักษาพื้นที่เคลื่อนไหว ใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูลตามที่

กำหนดในคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ โดยจัดใหมีหนวยงานที่รับผิดชอบในการ

บำรุงรักษาพื้นที่เคลื่อนไหวใหชัดเจน ทั้งนี้ ใหจัดทำระเบียบเกี่ยวกับการบำรุงรักษา โดยแสดงรายละเอียด

ของสิ่งอำนวยความสะดวกและวิธีการดำเนินงานเพื่อบำรุงรักษาพื้นที่เคลื่อนไหวและใหเป>นไปตามมาตรฐาน

และมีขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้

(๑) การดูแล ติดตาม และตรวจสอบพื้นที่ที่มีผิวพื้นจราจรใหมีคุณสมบัติเป>นไปตาม

มาตรฐานที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน และกรณีที่ตรวจพบวาพื้นที่ที่มีผิวพื้น

จราจรมีคุณสมบัติไมเป>นไปตามมาตรฐานดังกลาว ใหระบุรายละเอียดของวิธีการซอมแซมและบำรุงรักษา

เพื่อใหมีคุณสมบัติเป>นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน

(๒) การทำความสะอาดพื้นที่ที่มีผิวพื้นจราจรไมใหมีวัตถุแปลกปลอม (foreign object

damage: FOD) อุปกรณQเครื่องมือชาง กลอุปกรณQ หรือสิ่งของอื่นขนาดเล็ก ซึ่งอาจเป>นอันตรายตออากาศยาน

ใหเหมาะสมกับการใชงานสนามบิน

- ๖ -

(๓) การบำรุงรักษาพื้นผิวของทางวิ่ง ใหแสดงรายละเอียด ดังนี้

(ก) การบำรุงรักษาพื้นผิวของทางวิ่งใหอยูในสภาพที่จะปaองกันมิใหเกิดความไมสม่ำเสมอ

ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายตออากาศยานได

(ข) ทางวิ่งที่มีผิวพื้นจราจรตองบำรุงรักษาใหมีคุณลักษณะความเสียดทานของ

พื้นผิวอยางนอยตามระดับขั้นต่ำตาม (ง) (๓)

เพื่อประโยชนQในการบำรุงรักษา คุณลักษณะความเสียดทานของทางวิ่งตามวรรคหนึ่ง

ใหตรวจวัดโดยใชอุปกรณQตรวจวัดความเสียดทานตอเนื่องแบบเซลฟs-เวทติ้ง (self-wetting) และใหบันทึกไว

เป>นเอกสาร โดยใหมีความถี่ในการตรวจวัดมากเพียงพอที่จะกำหนดแนวโนมของคุณลักษณะความเสียดทาน

ของพื้นผิวของทางวิ่ง

(ค) การดำเนินมาตรการบำรุงรักษาเชิงแกไข (corrective maintenance action)

เพื่อปaองกันคุณลักษณะความเสียดทานของพื้นผิวของทางวิ่ง ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน ไมใหต่ำกวาระดับขั้นต่ำที่

อธิบดีกำหนดตาม (ง) (๓)

นอกจากมาตรการบำรุงรักษาเชิงแกไขตามวรรคหนึ่งแลว ใหมีการดำเนินมาตรการ

บำรุงรักษาและแกไขปรับปรุงทางวิ่งตามความจำเป>น เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อไดวา ทางวิ่งไมสามารถระบายน้ำได

เนื่องจากความลาดชันหรือการยุบตัวของพื้นทางวิ่ง

(ง) เพื่อประโยชนQในการบำรุงรักษาพื้นผิวของทางวิ่งใหอยูในสภาพที่มีความฝtด

เหมาะสมตามวรรคหนึ่ง ใหแบงคาความฝtดขั้นต่ำของทางวิ่งออกเป>นสามระดับ ไดแก

๑) ระดับความฝtดที่ออกแบบ (design level) คือ คาความฝtดขั้นต่ำของ

พื้นผิวของทางวิ่งที่กอสรางหรือเสริมพื้นผิวใหม

๒) ระดับความฝtดซอมบำรุง (maintenance level) คือ คาความฝtดขั้นต่ำ

ที่ตองเริ่มมีการวางแผนเพื่อซอมบำรุงพื้นผิวของทางวิ่ง

๓) ระดับความฝtดขั้นต่ำ (minimum friction level) คือ คาความฝtดของ

ทางวิ่งที่อาจจะทำใหลื่นไถลในกรณีที่พื้นเปuยก และตองแจงใหผูปฏิบัติการบินทราบในประกาศนักบิน

(NOTAM) และเริ่มทำการปรับปรุงพื้นผิวของทางวิ่งตามแผนการบำรุงรักษา

เกณฑQวิเคราะหQคาความฝtด (ง) ใหเป>นไปตามตารางดังตอไปนี้

- ๗ -


ขอ ๑๔ ความปลอดภัยในการกอสรางและการบำรุงรักษาบริเวณสนามบินใหมีกระบวนการ

ที่มีมาตรฐานและมีขอมูลตามที่กำหนดไวคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ รวมทั้งมีขอมูล

ดังตอไปนี้

(๑) การปฏิบัติงานกอสรางหรือบำรุงรักษาในเขตการบินหรือพื้นที่เคลื่อนไหว เพื่อปaองกัน

ไมใหมีผลกระทบตอระดับความปลอดภัยของสนามบิน ซึ่งประกอบดวยวิธีการทำงาน แผนผังการทำงาน และ

แผนผังการใชพื้นที่ โดยใหมีการกำหนดหนาที่และความรับผิดชอบของบุคคลที่เกี่ยวของกับการกอสรางหรือ

บำรุงรักษาดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่มีหนาที่ควบคุมการกอสรางหรือบำรุงรักษาเชนวานั้น

(๒) ระบบการอนุญาตและการบันทึกการทำงาน รวมทั้งมีการแจงกฎเกณฑQสำหรับการเขา

ทำงานใหกับผูควบคุมการทำงานโดยตรง

- ๘ -

(๓) ระบบการสื่อสารและแจงใหทราบเกี่ยวกับการกอสรางและบำรุงรักษาสนามบิน เพื่อให

เจาหนาที่หรือบุคลากรในสนามบิน รวมถึงประชาชนที่อยูบริเวณโดยรอบสนามบินทราบในเวลาที่เหมาะสม

โดยอาจอยูในรูปคำแนะนำเพื่อความปลอดภัยหรือหนังสือเวียนภายในสนามบินก็ได ทั้งนี้ กอนเริ่มปฏิบัติงาน

กอสรางหรือบำรุงรักษา ใหมีการออกประกาศนักบิน (Notice to Airmen: NOTAM) เพื่อแจงขอมูลใหหนวย

ปฏิบัติการบินทราบในระยะเวลาที่เหมาะสมและใหยกเลิกประกาศนักบินดังกลาว เมื่อการปฏิบัติงานกอสราง

เสร็จสิ้นแลว

(๔) ระบบการสื่อสารและการแจงเตือนใหหนวยงานตาง ๆ ที่อยูในสนามบินทราบ กรณีที่

เกิดเหตุการณQที่มีผลกระทบตอความปลอดภัย รวมทั้งกฎเกณฑQตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เชน ป„ญหาจากกระแส

ไอพนและเสียง การปฏิบัติการเมื่อทัศนวิสัยต่ำ และการกำหนดใหบุคคลผูปฏิบัติงานในเขตการบินตองสวมใส

เสื้อสะทอนแสงตลอดเวลาที่ปฏิบัติหนาที่ เป>นตน

ขอ ๑๕ การบริหารจัดการลานจอดอากาศยานใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูล

ตามที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือนและคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความ

เห็นชอบ รวมทั้งมีขอมูล ดังตอไปนี้

(๑) การจัดการในการจัดสรรตำแหนงจอดอากาศยาน ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) หนาที่ความรับผิดชอบและสายการบังคับบัญชาของการดำเนินการเกี่ยวกับการ

กำหนดตำแหนงจอดอากาศยาน ทั้งนี้ ความรับผิดชอบโดยรวมทั้งหมดควรเป>นของเจาของหรือผูดำเนินการ

สนามบิน ถึงแมวาอาจจะมีการจัดตั้งระบบกำหนดตำแหนงจอดสำหรับผูใชพิเศษ (preferred user stands)

เพื่อความอำนวยความสะดวกและมีประสิทธิภาพในการดำเนินการก็ตาม

(ข) รายละเอียดในการใชหลุมจอดตองชัดเจนวาจะใชหลุมจอดใดสำหรับจอด

อากาศยานชนิดใดและประเภทใด และพิจารณาถึงความตองการของผูขอใชพิเศษดวย

(ค) กฎเกณฑQและขั้นตอนซึ่งปaองกันอันตรายจากการเขา-ออกตำแหนงจอดอากาศยาน

และไดแจกจายใหแกผูดำเนินการเดินอากาศและผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับอากาศยาน

(ง) การเฝaาระวังตำแหนงจอดอากาศยานเพื่อใหแนใจวาไดระยะที่ปราศจากสิ่งกีดขวาง

(clearance) ตามที่กำหนดไวในมาตรฐานวาดวยลักษณะทางกายภาพของสนามบิน เพื่อใหอากาศยานเขาใช

ตำแหนงจอดอากาศยานนั้นไดอยางปลอดภัย

(๒) การจัดการใหมีการสตารQทเครื่องยนตQอากาศยาน และการควบคุมการทำงานของเครื่องยนตQ

ในลานจอดอากาศยาน ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับการกำหนดขั้นตอนในการสตารQทเครื่องยนตQสำหรับอากาศยาน

ขาเขาและอากาศยานขาออก รวมถึงการติดไฟสัญญาณปaองกันการชนกันของอากาศยาน (anti-collision

beacon) และการเดินเครื่องยนตQรอบเบา (ground idle)

(๓) การดันอากาศยานถอยหลัง (push-back) ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) การกำหนดขั้นตอนและประกาศใหทราบถึงกฎระเบียบ และขอปฏิบัติที่จำเป>น

เพื่อความปลอดภัยในการดันอากาศยานถอยหลัง ซึ่งรวมถึงการกำหนดใหบุคลากรที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะ

พนักงานขับรถลากจูงและเจาหนาที่ผูควบคุมตองไดรับการฝ…กอบรมในกระบวนการตาง ๆ ดวย

- ๙ -

(ข) เจาของหรือผูดำเนินการสนามบินอนุญาตอาจกำหนดใหการดำเนินการดัน

อากาศยานถอยหลังเป>นความรับผิดชอบของผูดำเนินการเดินอากาศ หรือบริษัทตัวแทนที่บริหารจัดการลานจอด

อากาศยานก็ได แตทั้งนี้ ตองมีกระบวนการการตรวจสอบของเจาของหรือผูดำเนินการสนามบินอนุญาตวา

การดำเนินการดันอากาศยานถอยหลังเป>นไปตามกฎระเบียบ และขอปฏิบัติที่จำเป>นเพื่อความปลอดภัยในการ

ดันอากาศยานถอยหลัง ตาม (ก) ดวย

(๔) การใชกำลังเครื่องยนตQขับเคลื่อนอากาศยานถอยหลัง (power-back) ใหมีรายละเอียด

เกี่ยวกับ

(ก) การใชกำลังเครื่องยนตQขับเคลื่อนอากาศยานถอยหลัง อาจใชไดกับอากาศยาน

บางแบบตามที่กำหนดไวในคูมือปฏิบัติการบินของอากาศยาน (flight operations manual) เทานั้นและตอง

มีกระบวนการดำเนินการที่ไมกอใหเกิดผลกระทบตอความปลอดภัยของลานจอดอากาศยาน อันเนื่องมาจาก

เสียง แรงสั่นสะเทือน และกระแสไอพนของเครื่องยนตQ

(ข) การอนุญาตใหใชกำลังเครื่องยนตQขับเคลื่อนอากาศยานถอยหลังใหคำนึงถึง

แผนผังของสนามบิน และเป>นไปตามคูมือปฏิบัติการบินของอากาศยาน

(ค) การออกขอจำกัดเกี่ยวกับระดับเสียง แรงสั่นสะเทือน กระแสไอพน และควันที่

สงผลกระทบตอพื้นที่ใกลเคียง พรอมทั้งมีการประเมินผลกระทบที่เกิดจากเสียงแรงสั่นสะเทือน กระแสไอพน

และผลกระทบของมลภาวะเหลานี้อยางเหมาะสม

(ง) มีการหามใชกำลังเครื่องยนตQขับเคลื่อนอากาศยานถอยหลัง ในขณะที่ผูโดยสาร

กำลังขึ้นลงอากาศยานที่จอดอยูในบริเวณใกลเคียง เวนแตในกรณีจำเป>น ซึ่งผูปฏิบัติงานตองแจงเหตุผล

ความจำเป>นในการปฏิบัติงานใหกับเจาของหรือผูดำเนินการสนามบินอนุญาตโดยตองประเมินความเสี่ยงที่

อาจจะเกิดขึ้นและกำหนดมาตรฐานการควบคุมเพื่อลดความเสี่ยงใหนอยที่สุดเทาที่จะทำได

(๕) การขับเคลื่อนอากาศยานดวยตนเองในลานจอดอากาศยาน ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) ขอกำหนดสำหรับการขับเคลื่อนอากาศยานดวยตนเอง

(ข) การขับเคลื่อนอากาศยานดวยตนเองในลานจอดอากาศยานที่เปAดโลงและไมมี

เครื่องหมายสัญญาณ ตองมีกระบวนการเป>นพิเศษโดยมีบริการใหทัศนสัญญาณ (marshalling) ตลอดเวลา

สำหรับอากาศยานขาเขา นอกจากนี้ ควรมีการกำหนดดวยวาหลุมจอดและสภาพการณQใดที่จำเป>นตองมี

บริการใหสัญญาณสำหรับอากาศยานขาออกดวย

(๖) ในการบริการใหสัญญาณขับเคลื่อนอากาศยาน ซึ่งรวมถึงการใหทัศนสัญญาณ ใหมี

รายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) ในการบริการใหทัศนสัญญาณ ผูใหทัศนสัญญาณตองไดรับการฝ…กอบรมและ

การทดสอบความรูความสามารถในการใหทัศนสัญญาณ โดยตองไดรับอนุญาตจากเจาของหรือผูดำเนินการ

สนามบินอนุญาตในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ทั้งนี้ การใหทัศนสัญญาณใหเป>นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว

ในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน

- ๑๐ -

(ข) การบริการใหทัศนสัญญาณ สำหรับหลุมจอดที่ไมไดติดตั้งระบบไฟสัญญาณนำ

อากาศยานเขาหลุมจอดดวยทัศนวิสัย หรือกรณีที่ระบบไฟสัญญาณดังกลาวหรือเครื่องชวยจอดอื่น ๆ ไม

สามารถใหบริการได ใหสนามบินอนุญาตมีบริการใหทัศนสัญญาณ หากมีการรองขอ

(๗) ในกรณีที่สนามบินอนุญาตมีบริการสะพานเทียบเครื่องบิน ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) การจัดทำและประกาศใชกระบวนการการดำเนินงานตามมาตรฐานเกี่ยวกับ

สะพานเทียบเครื่องบิน

(ข) การกำหนดเครื่องหมายและสัญลักษณQสำหรับอุปกรณQสะพานเทียบเครื่องบิน

เพื่อความปลอดภัยแกผูปฏิบัติงาน

(ค) ตารางการบำรุงรักษาในเชิงปaองกัน ซึ่งรวมถึงการตรวจพินิจสะพานเทียบ

เครื่องบินดวย

(ง) การสรางระบบการรายงานใหรูถึงขอบกพรองของสะพานเทียบเครื่องบิน ซึ่ง

รวมถึงการตอบสนองตอขอบกพรองอยางทันทวงทีของเจาหนาที่ฝ†ายวิศวกรรมและฝ†ายปฏิบัติการในพื้นที่ ใน

กรณีที่จำเป>นตองระงับการใหบริการสะพานเทียบเครื่องบินจนกวาจะไดรับการแกไข ทั้งนี้ เพื่อประโยชนQแหง

ความปลอดภัยในการใหบริการทั้งกับอากาศยานและผูโดยสาร

(จ) การสรางระบบการฝ…กอบรม ทดสอบและออกใบรับรองใหกับผูใหบริการสะพาน

เทียบเครื่องบิน เพื่อทำใหมั่นใจวาผูไดรับใบรับรองมีความรูความสามารถเพียงพอสำหรับการปฏิบัติงาน และ

ใบรับรองที่ออกใหกับผูใหบริการสะพานเทียบเครื่องบิน โดยเจาของหรือผูดำเนินงานสนามบินอนุญาตอาจ

ดำเนินการเองหรือมอบหมายใหบริษัทตัวแทนที่บริหารจัดการลานจอดอากาศยานดำเนินการแทนก็ได ทั้งนี้

ในกรณีที่มอบหมายใหบริษัทตัวแทนดำเนินการแทน เจาของหรือผูดำเนินงานสนามบินอนุญาตตองตรวจ

ประเมินการปฏิบัติงานของบริษัทตัวแทนดังกลาว เพื่อใหมั่นใจในความปลอดภัยของการใหบริการดวย ทั้งนี้

หากมีการใชสะพานเทียบแบบใหมหรือเปลี่ยนแปลงระบบการควบคุมสะพานเทียบตองจัดใหมีการฝ…กอบรม

และทดสอบใหคุนเคยอุปกรณQดังกลาวกอนการใชงานดวย

(ฉ) การสรางระบบการตรวจสอบ (audit system) เพื่อทำใหมั่นใจวาผูใหบริการ

สะพานเทียบเครื่องบินมีระดับความรูความสามารถเป>นไปตามมาตรฐาน และเพื่อตรวจสอบบันทึกอุบัติการณQ

ที่เกี่ยวของและขอบกพรองของสะพานเทียบเครื่องบิน

(๘) การใหบริการรถนำอากาศยาน (leader van service or follow - me) ใหมีรายละเอียด

เกี่ยวกับ

(ก) ในสนามบินที่มีการใหบริการนำอากาศยานดวยรถนำ สนามบินอนุญาตตองมี

กระบวนการการดำเนินงานเพื่อใหมั่นใจวา พนักงานขับรถไดรับการอบรมอยางเหมาะสมในเรื่องขั้นตอน

ปฏิบัติ ทัศนสัญญาณ ความเร็วในการขับเคลื่อน และระยะหางระหวางรถและอากาศยานที่ถูกตอง

(ข) ในกรณีที่มีการกำหนดเสนทางขับที่ไมเป>นไปตามเสนทางขับมาตรฐาน หรือเมื่อ

มีการรองขอจากนักบินที่ไมคุนเคยกับสนามบิน หรือในสภาพทัศนวิสัยเลวราย สนามบินอนุญาตตองมีรถนำ

ทางเพื่อนำนักบินไปยังผูใหทัศนสัญญาณ หรือไปยังหลุมจอดอากาศยานลำดังกลาวโดยตรง

- ๑๑ -

ขอ ๑๖ นอกจากรายละเอียดตามขอ ๑๕ สนามบินอนุญาตตองมีการจัดการความปลอดภัย

ในลานจอดอากาศยาน โดยใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานตามที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบิน

พลเรือน และมีขอมูลอยางนอยตามคูมือการดำเนินงานสนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ รวมทั้งมีขอมูล

ดังตอไปนี้

(๑) การปaองกันกระแสไอพนจากเครื่องยนตQเจ็ต (jet blasts) ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) การเดินเครื่องยนตQของอากาศยาน

๑) การกำหนดกฎเกณฑQและขั้นตอนสำหรับการเดินเครื่องยนตQใหมีความปลอดภัย

โดยมีการแจงเจาหนาที่ประจำเครื่องและเจาหนาที่ภาคพื้นดินใหรับทราบดวย

๒) การกำหนดนโยบายและขั้นตอนปฏิบัติเพื่อลดผลกระทบทางเสียง

แรงสั่นสะเทือนและควันจากเครื่องยนตQอากาศยาน

(๒) การใหบริการเชื้อเพลิงอากาศยาน ใหมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

(ก) การกำหนดขั้นตอนการบริการเชื้อเพลิงและการบังคับใชมาตรการการ

ปaองกันเพื่อความปลอดภัยระหวางการเติมน้ำมันอากาศยาน

(ข) ขั้นตอนการบริการเชื้อเพลิงตาม (ก) ควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับกรณีการเติมน้ำมัน

อากาศยานในขณะที่ผูโดยสารกำลังขึ้นอากาศยาน อยูในอากาศยาน หรือกำลังลงจากอากาศยานซึ่งกำหนดให

ตองมีการติดตั้งอุปกรณQภาคพื้น เพื่อใหมีจำนวนทางออกที่เพียงพอสำหรับการอพยพเคลื่อนยายอยาง

รวดเร็วและใหมีเสนทางหลบหนีในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินดวย

(ค) การมีอุปกรณQดับเพลิงที่เหมาะสมอยางนอยเพื่อการสกัดเพลิงไหมขั้นเริ่มตน และ

การฝ…กอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการใชอุปกรณQดังกลาว เพื่อใหมีความพรอมในการใชงานอุปกรณQระหวางการ

ใหบริการภาคพื้นดินของอากาศยานตลอดจนใหมีความรวดเร็วในการเรียกบริการดับเพลิงและกูภัย กรณีเกิด

เพลิงไหมหรือมีเชื้อเพลิงหกเลอะเป>นปริมาณมาก

(๓) การกวาดลานจอดอากาศยานและการทำความสะอาดลานจอดอากาศยาน ใหมีรายละเอียด

เกี่ยวกับ

(ก) โดยที่ความสะอาดของบริเวณพื้นผิวลานจอดอากาศยานมีความสำคัญอยางยิ่ง

ตอความปลอดภัยในการเดินอากาศ สนามบินอนุญาตตองมีกระบวนการทำความสะอาดลานจอดอากาศยาน

เพื่อปaองกันไมใหมีวัตถุแปลกปลอมซึ่งอาจเป>นอันตรายตอเครื่องยนตQของอากาศยานที่ขับเคลื่อนอยูในพื้นที่

ดังกลาว โดยใหจัดทำแผนการทำความสะอาดลานจอดอากาศยานโดยใชอุปกรณQที่เหมาะสม ซึ่งตองทบทวนแผน

อยางสม่ำเสมอเพื่อใหมั่นใจวาพื้นผิวลานจอดอากาศยานทั้งหมดที่ใชในการปฏิบัติการบินของอากาศยานมี

สภาพสะอาดและปราศจากวัตถุแปลกปลอมแลว ทั้งนี้ รวมถึงการกวาด การทำความสะอาด และการตรวจสอบ

ลานจอดอากาศยาน ตลอดจนการกำจัดน้ำมัน หรือสารเคมีที่หกลนอยูบนพื้นลานจอดอากาศยานอยาง

ทันทวงที และมีการจัดหาเครื่องมือในการกำจัดของเสียที่เกิดจากอากาศยานและปaองกันวัตถุแปลกปลอม

โดยดูแลอยางเขมงวดในสถานที่ที่อาจกอใหเกิดวัตถุแปลกปลอม จำนวนมาก เชน พื้นที่กอสรางและพื้นที่ขน

สัมภาระของผูโดยสาร ทั้งนี้ การใชสารเคมีทำความสะอาดลานจอดอากาศยานตองไมเป>นอันตรายตอเครื่องบิน

และบริเวณพื้นผิว และตองไมใชสารเคมีที่กอใหเกิดมลภาวะเป>นพิษตอสิ่งแวดลอม

- ๑๒ -

(ข) การจัดทำคำแนะนำ บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกและโครงการตาง ๆ เพื่อลด

อันตรายจากวัตถุแปลกปลอม โดยจัดทำโปรแกรมเพื่อใหความรูแกบุคลากรที่ปฏิบัติงานในลานจอดอากาศยาน

เกี่ยวกับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดและขอกำหนดตาง ๆ ที่เกี่ยวกับวัตถุแปลกปลอม และกำหนดความรับผิดชอบ

ของบุคคลทุกคนที่ปฏิบัติงานในลานจอดอากาศยานเพื่อลดความเสี่ยงของอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากวัตถุ

แปลกปลอม

(ค) มีกฎระเบียบในการเคลื่อนยายสิ่งที่อาจเป>นอันตรายออกจากลานจอดอากาศยาน

เชน ยานพาหนะและอุปกรณQที่ชำรุด

(๔) ในเรื่องอุปกรณQสำหรับการปฏิบัติงานในลานจอดอากาศยาน ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) การตรวจสอบอุปกรณQสำ หรับการปฏิบัติงานในลานจอดอากาศยาน เชน

ยานพาหนะ ลิฟตQ อุปกรณQดันอากาศยาน สะพานเทียบเครื่องบิน อุปกรณQขนถายลำเลียงสินคา เพื่อความปลอดภัย

ของบุคคลและอากาศยาน รวมทั้งอุปกรณQดังกลาวตองเหมาะสมกับสถานที่ที่ใชงานและจุดประสงคQของการใชงาน

และไดรับการบำรุงรักษาใหมีสภาพที่ปลอดภัยกับการใชงาน ทั้งนี้ การตรวจสอบและบำรุงรักษาดังกลาวควร

กระทำโดยบุคลากรที่มีความสามารถ โดยใหบันทึกการตรวจสอบไวเป>นหลักฐานดัวย

(ข) มาตรการประเมินความเสี่ยงและควบคุมความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการใชงาน

อุปกรณQดังกลาว

(ค) บุคลากรที่จะใชงานอุปกรณQแตละอยางสำหรับการปฏิบัติงานในลานจอดอากาศยาน

ตองไดรับการฝ…กอบรม คำแนะนำและขอมูลในการใชงานอยางเพียงพอ

ขอ ๑๗ สนามบินอนุญาตตองมีการจัดการเพื่อใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติตาม

มาตรการดานความปลอดภัยของบุคลากรทุกคนที่ทำงานในลานจอดอากาศยาน โดยใหมีกระบวนการที่

มีมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้

(๑) แผนการตรวจสอบประเมินผลความมีประสิทธิภาพในขั้นตอนการดำเนินงานสนามบิน

อนุญาต และพิจารณาขอบกพรองที่ตรวจพบ พรอมทั้งมีมาตรการแกไขที่เหมาะสม และตองมีการประเมิน

ประสิทธิภาพของมาตรการดังกลาวดวย

(๒) การตรวจสอบวาผูประกอบการในลานจอดอากาศยานไดจัดทำแผนการตรวจสอบ

เพื่อประเมินและตรวจติดตามวา การดำเนินการในลานจอดอากาศยาน ไดปฏิบัติตามมาตรการดานความปลอดภัย

อยางถูกตอง เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคQดานความปลอดภัย

ขอ ๑๘ การควบคุมยานพาหนะในเขตการบิน ใหเป>นไปเพื่อการกำกับดูแลยานพาหนะที่อยู

บนพื้นที่เคลื่อนไหว หรือในบริเวณใกลเคียงใหดำเนินการไดอยางปลอดภัย โดยใหมีรายละเอียดของกฎจราจร

ที่ใชและวิธีการในการอนุญาตสำหรับผูขับขี่ยานพาหนะในพื้นที่เคลื่อนไหวตามที่กำหนดไวในคูมือการดำเนินงาน

สนามบินที่ไดรับความเห็นชอบ พรอมทั้งใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้

- ๑๓ -

(๑) กฎจราจร ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

(ก) กฎจราจรทั่วไป เชน การจำกัดความเร็วในการขับขี่ภายในเขตการบินตาม

ความเหมาะสมของสภาพเสนทางตางๆ การกำหนดไมใหยานพาหนะที่ไมมีผูดูแลติดเครื่องยนตQอยูในเขตการบิน

การกำหนดใหยานพาหนะอยูในเขตการบินไดเป>นเวลาเทาที่จำเป>นสำหรับการปฏิบัติงานเทานั้น

(ข) กฎจราจรที่เกี่ยวกับอากาศยานและหลุมจอดอากาศยาน เชน การกำหนดไมให

มีการขับยานพาหนะขามผานหลุมจอดอากาศยาน เวนแตเป>นยานพาหนะที่เกี่ยวของโดยตรงกับการ

ปฏิบัติการของอากาศยานที่ใชหรือจะใชหลุมจอดอากาศยาน การกำหนดใหยานพาหนะใหทางแกอากาศยาน

ทุกกรณี การหามมิใหขับยานพาหนะสวนทางในพื้นที่ขับเคลื่อนหรือลานจอดอากาศยาน ตลอดจนการ

กำหนดใหยานพาหนะอยูหางจากสวนใดสวนหนึ่งของอากาศยานในระยะที่ปลอดภัย เวนแตยานพาหนะ

ดังกลาวมีสวนโดยตรงในการขับเคลื่อนหรือใหบริการแกอากาศยาน

(ค) การกำหนดหนาที่ความรับผิดชอบของผูขับขี่ยานพาหนะทั่วไปและยานพาหนะ

ที่ลากจูงอากาศยานที่ตองทำใหมั่นใจวายานพาหนะที่ตนขับนั้นตองไมชนกับยานพาหนะ อากาศยาน อาคาร

หรือสิ่งกีดขวางอื่นใด

(๒) การควบคุมยานพาหนะในเขตการบิน ใหมีรายละเอียดดังนี้

(ก) การกำหนดจุดควบคุมสำหรับทางเขา-ออกทุกแหงของเขตการบิน โดยมี

เจาหนาที่ควบคุมประจำจุดหรือควบคุมโดยไฟจราจรหรือสัญญาณไฟ

(ข) การกำหนดใหยานพาหนะที่ปฏิบัติงานในเหตุฉุกเฉินตองไดรับสิทธิในการ

ปฏิบัติงานกอนยานพาหนะอื่น ๆ

(ค) การแจงจุดรวมพลเพื่อเคลื่อนยายผูโดยสารในกรณีฉุกเฉินใหแกผูขับขี่ยานพาหนะในเขตการบินทราบดวย

(๓) กฎเกณฑQควบคุมการเขา-ออกและการปฏิบัติงานของยานพาหนะและอุปกรณQที่เคลื่อนยายไดในเขตการบิน เพื่อเผยแพรใหแกผูประกอบการและบุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ดังกลาวทราบและปฏิบัติตาม

(๔) การกำหนดใหผูที่จะขับขี่ยานพาหนะในเขตการบิน ตองไดรับใบอนุญาตขับขี่

ยานพาหนะในเขตการบินจากสนามบินตาม (๖) ซึ่งตองแสดงใบอนุญาตขับขี่ไวตลอดเวลาที่ปฏิบัติงานในพื้นที่

ดังกลาว

(๕) การกำหนดใหยานพาหนะทุกคันที่จะปฏิบัติงานในเขตการบินตองไดรับใบอนุญาต

ยานพาหนะที่จะใชในเขตการบิน ซึ่งตองแสดงไวกับยานพาหนะดังกลาวตลอดเวลาที่ปฏิบัติงานในพื้นที่

ดังกลาว

(๖) การออกใบอนุญาตสำหรับผูขับขี่ยานพาหนะในเขตการบินและสำหรับยานพาหนะที่จะ

ใชในเขตการบิน ใหมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

๑) ระบบการออกใบอนุญาตขับขี่ยานพาหนะในเขตการบิน (airside driving

permits) สำหรับผูขับขี่และใบอนุญาตยานพาหนะที่จะใชในเขตการบิน (airside vehicle permits) ที่ทำให

มั่นใจวาผูขับขี่และยานพาหนะที่จะใชในเขตการบินนั้นมีคุณสมบัติเป>นไปตามมาตรฐานที่สนามบินกำหนด

- ๑๔ -

ตาม (๗) และ (๘) แลวแตกรณี พรอมทั้งมีการฝ…กอบรม การตรวจสอบความสามารถและประเมินผล

ตลอดจนการทบทวนความรูของผูไดรับใบอนุญาตขับขี่ตามความเหมาะสม และตองสามารถระบุตัวผูขับขี่และ

ยานพาหนะดังกลาวสำหรับการปฏิบัติงานในเขตการบินไดอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ เพื่อประโยชนQในการรักษา

ความปลอดภัยของสนามบิน

๒) การควบคุมและจัดเก็บบันทึกการออกใบอนุญาตขับขี่ยานพาหนะในเขตการบิน

และใบอนุญาตยานพาหนะที่จะใชในเขตการบิน เพื่อประโยชนQในการตรวจสอบและรักษาความปลอดภัย

๓) การกำ หนดเงื่อนไขใหผูไดรับใบอนุญาตทั้งสองประเภทตองปฏิบัติตาม

กฎระเบียบและวิธีปฏิบัติของสนามบินอนุญาต

๔) ใบอนุญาตขับขี่ยานพาหนะในเขตการบินและใบอนุญาตยานพาหนะที่ใชในเขตการบิน มีการระบุวันหมดอายุดวย

(๗) มาตรฐานเกี่ยวกับคุณสมบัติและสุขภาพรางกายของผูที่จะไดรับใบอนุญาตขับขี่ยานพาหนะในเขตการบินจากสนามบิน ใหมีรายละเอียดดังนี้

๑) การกำหนดใหผูขับขี่ยานพาหนะในเขตการบินตองมีคุณสมบัติอยางนอยเป>น

ผูไดรับใบอนุญาตขับขี่จากกรมการขนสงทางบก และใบอนุญาตที่ไดรับตองระบุประเภทยานพาหนะที่ไดรับ

อนุญาตขับขี่ดวย

๒) การกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำเกี่ยวกับสุขภาพรางกาย ระยะการมองเห็น และความสามารถในการเห็นสี และการไดยินสำหรับผูขับขี่ยานพาหนะในเขตการบิน

(๘) มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับยานพาหนะที่ไดรับใบอนุญาตยานพาหนะที่จะใชในเขตการบินโดยใหมีรายละเอียด ดังนี้

๑) ใบอนุญาตยานพาหนะที่จะใชในเขตการบินที่ตองแสดงไวกับยานพาหนะตาม

(๓) ตองแสดงขอมูล รายละเอียด และขอจำกัดในการใชงานอยางชัดเจน และสามารถจำแนกยานพาหนะไดโดยงาย ดวยการใชสัญลักษณQ หรือชื่อของหนวยงานผูเป>นเจาของยานพาหนะ

๒) การกำหนดหลักเกณฑQการตรวจสอบสภาพและสมรรถนะดานความปลอดภัย

ของยานพาหนะที่จะเขาปฏิบัติงานในเขตการบิน เพื่อใหมั่นใจวายานพาหนะดังกลาวมีความเหมาะสมสำหรับ

วัตถุประสงคQการใชงานและอยูในสภาพปลอดภัย ไมกอใหเกิดอันตรายตอผูใชงาน ยานพาหนะอื่น คนเดินเทา

อากาศยาน หรือทรัพยQสินอื่น

๓) การตรวจพินิจสภาพยานพาหนะโดยบุคลากรที่มีความรูความสามารถ กอนที่จะ

ออกใบอนุญาตยานพาหนะที่จะใชในเขตการบิน และการตรวจพินิจสภาพยานพาหนะตามรอบระยะเวลา

เพื่อใหคงสภาพตามมาตรฐานความปลอดภัย รวมทั้งการสุมตรวจการตรวจพินิจ

๔) การกำหนดใหยานพาหนะทุกคันที่จะปฏิบัติงานในเขตการบินตองระบุหมายเลขหรือ

ตัวอักษรประจำยานพาหนะในตำแหนงที่เห็นชัดเจน

(๙) ระบบการตรวจสอบบุคลากรที่ไดรับอนุญาตใหขับขี่ยานพาหนะหรือปฏิบัติงานกับ

เครื่องมือหรืออุปกรณQตาง ๆ ในเขตการบินที่จะปฏิบัติงานเกี่ยวกับยานพาหนะในเขตการบิน เพื่อใหมั่นใจวา

บุคลากรมีความรู ความสามารถเพียงพอที่จะขับขี่ยานพาหนะ และปฏิบัติงานในพื้นที่ดังกลาวได ซึ่งตองมีการ

- ๑๕ -

กำหนดความรูพื้นฐานและทักษะขั้นต่ำของบุคลากรนั้น พรอมทั้งมีการฝ…กอบรมและทดสอบการทำงาน

ตลอดจนการทบทวนความรูและทักษะดังกลาวดวย

ถาการฝ…กอบรมตามวรรคหนึ่ง สนามบินไดมอบหมายใหเป>นหนาที่ของผูประกอบการใน

สนามบินหรือหนวยงานอื่น ๆ แลว สนามบินตองมีการประเมินผลระบบการฝ…กอบรมและการทดสอบ รวมถึง

การกำหนดใหผูประกอบการดำเนินการตรวจสอบภายในดวย

(๑๐) การระบุบงชี้ผูขับขี่และยานพาหนะในเขตการบิน ใหมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

๑) การกำหนดใหใบอนุญาตขับขี่ยานพาหนะในเขตการบินตองมีรูปถายของผูถือ

บัตรติดอยู เพื่อประโยชนQในการรักษาความปลอดภัยและในการระบุบงชี้ตัวผูขับขี่ไดอยางรวดเร็ว

๒) การกำ หนดเครื่องหมาย สัญลักษณQ หรือรูปแบบภายนอกที่แสดงวาเป>น

ยานพาหนะที่ไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานในเขตการบิน

(๑๑) กฎการปฏิบัติการสำหรับยานพาหนะภายในเขตการบิน เชน การจำแนกสีของ

เครื่องหมายภาคพื้นที่ใชสำหรับการนำทางอากาศยาน และการเคลื่อนที่และควบคุมยานพาหนะและอุปกรณQ

การแสดงขอบเขตระหวางลานจอดอากาศยานและพื้นที่ขับเคลื่อน เป>นตน

(๑๒) การปฏิบัติงานในเวลากลางคืนและในสภาพทัศนวิสัยต่ำ ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับการ

ประกาศใชและเผยแพรคำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของยานพาหนะในเวลากลางคืนและในสภาพทัศนวิสัย

ต่ำ ซึ่งรวมถึงการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับไฟสนามบิน ทั้งในสวนของไฟที่แสดงในพื้นที่ที่ยานพาหนะไมไดใชงาน

ตามปกติและไฟที่ติดตั้งบนยานพาหนะ ตลอดจนการจำกัดการปฏิบัติงานในสภาพทัศนวิสัยต่ำของบุคลากรและ

ยานพาหนะในลานจอดอากาศยานใหมีนอยที่สุดเทาที่จะเป>นไปได

(๑๓) การใชอุปกรณQวิทยุสื่อสารและโทรศัพทQเคลื่อนที่ ใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

๑) การกำหนดใหผูประกอบการยานพาหนะที่ปฏิบัติงานในพื้นที่บางสวนของ

สนามบินซึ่งจำเป>นตองติดตอสื่อสารโดยใชอุปกรณQวิทยุสื่อสารและโทรศัพทQเคลื่อนที่ตองไมทำใหการใช

อุปกรณQดังกลาวนั้นเบี่ยงเบนความสนใจของผูขับขี่ยานพาหนะในการปฏิบัติหนาที่ของตน

๒) การกำหนดใหผูขับขี่ยานพาหนะตองใชวิทยุสื่อสารสองชองทางเพื่อติดตอกับหอ

ควบคุมการจราจรทางอากาศกอนเขาพื้นที่ขับเคลื่อน และติดตอกับผูมีอำนาจหนาที่รับผิดชอบกอนเขา

ลานจอดอากาศยานและผูขับขี่ตองเปAดเฝaาฟ„งตามคลื่นความถี่ที่กำหนดเมื่ออยูบนพื้นที่เคลื่อนไหวอยาง

ตอเนื่อง

๓) มีระบบการติดตอวิทยุสื่อสารที่ไมกอใหเกิดความสับสนระหวางผูใชยานพาหนะ

หรือระหวางยานพาหนะกับอากาศยาน

(๑๔) กระบวนการรายงานอุบัติเหตุของยานพาหนะ ใหมีรายละเอียดดังตอไปนี้

๑) การกำหนดใหเจาของหรือผูจดทะเบียนอากาศยานตองแจงและทำรายงานอุบัติเหตุที่

เกิดขึ้นระหวางยานพาหนะและอากาศยานตอเจาของหรือผูดำเนินงานสนามบินอนุญาต

๒) การกำหนดกฎระเบียบในการรายงานอุบัติเหตุของยานพาหนะที่ปฏิบัติงานใน

เขตการบินของสนามบินอนุญาตและการประกาศใหทราบโดยทั่วกัน

- ๑๖ -

๓) การจัดทำแบบสำหรับการรายงานการเกิดอุบัติเหตุของยานพาหนะในเขตการบิน

โดยครอบคลุมกรณีอุบัติเหตุระหวางยานพาหนะดวยกัน ยานพาหนะกับอากาศยาน ยานพาหนะกับอุปกรณQ

เครื่องมือตางๆ หรือสิ่งปลูกสราง และยานพาหนะกับผูใชทาง โดยกำหนดใหมีการเก็บบันทึกเหตุการณQที่

เกิดขึ้นเป>นเวลาอยางนอยสามปu พรอมทั้งใหมีการทบทวนอยางสม่ำเสมอ เพื่อพิจารณาวาสมควรมีมาตรการ

ใดในการแกไขหรือขจัดสาเหตุของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในเขตการบินดังกลาว

(๑๕) การตรวจสอบติดตามและประเมินผลการใชมาตรฐานสำหรับการปฏิบัติงานของ

ยานพาหนะในเขตการบิน ใหมีการกำหนดกระบวนการในการตรวจสอบติดตามและประเมินผลการใช

มาตรฐานสำหรับการปฏิบัติงานของยานพาหนะในเขตการบิน ซึ่งรวมถึงขั้นตอนการพิจารณาทบทวนการ

ปฏิบัติงานดานตางๆ เชน การพิจารณาทบทวนจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของใบอนุญาตยานพาหนะที่จะใชใน

เขตการบินที่มีผลใชได เพื่อการประเมินผลกระทบตอความปลอดภัยของเขตการบินโดยรวมในกรณีที่มีการ

เปลี่ยนแปลงจำนวนยานพาหนะที่ปฏิบัติงานในเขตการบินอยางมีนัยสำคัญ การพิจารณาทบทวนจำนวน

อุบัติเหตุและอุบัติการณQ พรอมทั้งประเมินผลความรายแรงของเหตุการณQดังกลาวเพื่อชวยในการกำกับดูแล

แนวโนมที่จะเกิดขึ้นตอไป การทบทวนมาตรการรักษาความปลอดภัยในเขตการบิน

(๑๖) มาตรการบังคับใหปฏิบัติตาม ใหกำหนดบทลงโทษสำหรับการไมปฏิบัติตาม

กฎระเบียบและคำแนะนำในการใชงานยานพาหนะในเขตการบิน ซึ่งอาจรวมถึงการกำหนดหามยานพาหนะ

ลำหนึ่งลำใดของผูประกอบการดังกลาวมิใหเขาเขตการบินเป>นการชั่วคราวหรือถาวร โดยใหประกาศ

บทลงโทษดังกลาวใหทราบโดยทั่วกัน

(๑๗) นอกจากจะตองปฏิบัติตาม (๑) – (๑๖) แลว หากพื้นที่ที่จะปฏิบัติการเป>นพื้นที่เคลื่อนไหว

ใหมีรายละเอียดในเรื่องดังตอไปนี้ดวย

๑) วิธีการในการอนุญาตสำ หรับผูขับขี่ยานพาหนะในพื้นที่เคลื่อนไหว ใหมี

รายละเอียด ดังนี้

(ก) ยานพาหนะที่จะดำเนินการในพื้นที่ขับเคลื่อนตองไดรับอนุญาตจาก

หอควบคุมการจราจรทางอากาศและ

(ข) ยานพาหนะที่จะดำเนินการในลานจอดอากาศยานตองไดรับอนุญาต

จากผูมีอำนาจรับผิดชอบเทานั้น

๒) ผูขับขี่ยานพาหนะในพื้นที่เคลื่อนไหวตองปฏิบัติตามเครื่องหมายและปaาย

สัญญาณที่กำหนดไว เวนแตไดรับอนุญาตใหปฏิบัติเป>นอยางอื่นจากหอควบคุมการจราจรทางอากาศ

ขณะอยูในพื้นที่ขับเคลื่อน หรือจากผูมีอำนาจรับผิดชอบขณะอยูในลานจอดอากาศยาน

๓) นอกจากตองปฏิบัติตาม (๒) แลว ผูขับขี่ยานพาหนะในพื้นที่เคลื่อนไหวตองปฏิบัติตามสัญญาณไฟดวย

๔) ผูขับขี่ยานพาหนะในพื้นที่เคลื่อนไหวตองไดรับการฝ…กอบรมอยางเหมาะสมกับ

ภาระหนาที่ที่ปฏิบัติและตองปฏิบัติตามคำแนะนำจากหอควบคุมการจราจรทางอากาศขณะอยูในพื้นที่

ขับเคลื่อน หรือจากผูมีอำนาจรับผิดชอบขณะอยูในลานจอดอากาศยานอากาศยาน

- ๑๗ -

ขอ ๑๙ การบริหารจัดการเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากสัตวQ ใหเป>นไปเพื่อวัตถุประสงคQในการ

วางโครงสรางและบริหารจัดการสัตวQภายในบริเวณสนามบิน โดยเฉพาะนก รวมถึงการบรรเทาอันตรายและลด

จำนวนอุบัติเหตุและอุบัติการณQที่เกิดจากสัตวQ โดยสนามบินอนุญาตตองมีวิธีดำเนินการเพื่อรับมือกับอันตรายตอ

การปฏิบัติการของอากาศยานจากนกหรือสัตวQอื่นในวงจรการบินหรือในพื้นที่เคลื่อนไหวของสนามบิน ทั้งนี้ ใหมี

กระบวนการที่เป>นไปตามมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอยตามที่กำหนดไวในคูมือการดำเนินการสนามบินที่ไดรับ

ความเห็นชอบ รวมทั้งใหมีขอมูล ดังตอไปนี้

(๑) แผนควบคุมการชนนก/สัตวQ (bird/wildlife strike control programme) ที่มีประสิทธิภาพ

สำหรับสนามบิน โดยคำนึงถึงขนาดและระดับการใหบริการของสนามบิน โดยใหมีรายละเอียดดังนี้

(ก) การมอบหมายบุคลากรใหมีหนาที่รับผิดชอบดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการ

ควบคุมการชนนก/สัตวQ อันไดแก

๑) ผูจัดการผูรับผิดชอบในการจัดทำ พัฒนาและปฏิบัติใหเป>นไปตาม

แผนการปaองกันการชนนก/สัตวQ ซึ่งรวมถึงการทำหนาที่กำกับดูแลกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแตละวันและวิเคราะหQ

ขอมูลที่จัดเก็บได พรอมทั้งจัดทำการประเมินความเสี่ยง เพื่อนำไปจัดทำ พัฒนา และปฏิบัติใหเป>นไปตาม

แผนการปaองกันการชนนก/สัตวQ

๒) บุคลากรที่มีความสามารถและไดรับการฝ…กอบรม เพื่อการตรวจจับและ

บันทึกการพบนก/สัตวQ และประเมินอันตรายที่เกิดจากนก/สัตวQดังกลาว พรอมทั้งดำเนินการกำจัดนก/สัตวQนั้น

ดวย โดยการฝ…กอบรมใหรวมถึงความรูดานป„กษีวิทยา (ormithological knowledge) เพื่อใหบุคลากรที่

ปฏิบัติหนาที่ควบคุมนกที่สนามบินสามารถจำแนกนกไดอยางถูกตองแมนยำ ทั้งจากการสังเกตและการเก็บ

และวิเคราะหQซากนกที่เหลือภายหลังอากาศยานชนนก

(ข) กระบวนการรายงาน จัดเก็บ และบันทึกขอมูลเกี่ยวกับประชากรนก/สัตวQที่มี

แหลงอาศัยอยูในสนามบินและบริเวณใกลเคียงสนามบินและรูปแบบการเคลื่อนที่ของนก/สัตวQ ตลอดขอมูล

เกี่ยวกับนก/สัตวQที่ถูกอากาศยานชนและที่มีชีวิตอยูบริเวณสนามบิน โดยสนามบินตองสรางกลไกใหมั่นใจไดวา

สนามบินไดรับทราบถึงกรณีอากาศยานชนนก/สัตวQทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในสนามบินและบริเวณใกลเคียง

สนามบิน

(ค) กระบวนการวิเคราะหQขอมูลและประเมินอันตรายที่เกิดจากนก/สัตวQดังกลาว

เพื่อพัฒนามาตรการในการบรรเทา แกไขและปaองกัน พรอมทั้งรับมือกับป„ญหาอันตรายที่เกิดจากนก/สัตวQ ซึ่ง

รวมถึงกระบวนวิธีประเมินความเสี่ยงดวย

(ง) กระบวนการบริหารจัดการที่ดินและแหลงอาศัย ทั้งในสนามบินและบริเวณ

ใกลเคียงสนามบิน ใหเป>นไปตามที่กำหนดในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน

(จ) กระบวนการขับไลหรือกำจัดนก/สัตวQที่เป>นอันตราย ซึ่งอาจตองรวมถึงการ

กำจัดในกรณีที่มีความจำเป>นดวย ทั้งนี้ สนามบินตองจัดใหมีการขับไลหรือกำจัดนกคลอบคลุมทุกชั่วโมงที่มี

การปฏิบัติการบินในสนามบินและรวมถึงในเวลากลางคืน พรอมทั้งใชเครื่องมืออุปกรณQขับไลนกที่เหมาะสมตอ

ชนิดของนก/สัตวQ จำนวนของนก/สัตวQและพื้นที่ที่จำเป>นตองควบคุม ทั้งนี้ ใหเป>นไปตามกฎหมายวาดวยสงวน

และคุมครองสัตวQป†า

- ๑๘ -

(ฉ) กระบวนการประสานความรวมมือกับหนวยงานอื่นและเจาของที่ดินในทองถิ่น

เพื่อทำใหมั่นใจวา สนามบินจะรับทราบถึงแนวทางการพัฒนาทองที่เกี่ยวกับการสาธารณูปโภค โครงสราง

พื้นฐาน การกสิกรรม การใชที่ดินและกิจกรรมอื่นในบริเวณใกลเคียงสนามบิน ซึ่งอาจมีผลกอใหเกิดแหลงที่อยู

อาศัยของนกที่เป>นอันตรายตอสนามบินได โดยควรกำหนดใหมีการประชุมหารือเป>นประจำระหวางผูมีสวนได

เสียจากทุกภาคสวน

(๒) การประเมินอันตรายจากการชนนก/สัตวQในสนามบินหรือในบริเวณใกลเคียงสนามบิน

โดยใหมีวิธีการประเมินและจัดระดับความเสี่ยงที่อาจเกิดอันตรายจากนก/สัตวQในสนามบินโดยใชขอมูลสวน

หนึ่งที่ไดจากการดำเนินการตาม (๑) (ข) และใหมีการทบทวนการประเมินตามชวงเวลาที่กำหนด รวมทั้งการ

ประเมินใหม ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่อาจกระทบตอความปลอดภัย เชน การเปลี่ยนแปลงใน

สภาพแวดลอมสนามบิน กระบวนการปฏิบัติงาน แบบอากาศยาน

(๓) ระบบการแจงอันตรายจากนก/สัตวQแกนักบิน

(๔) รายงานอากาศยานชนนก/สัตวQทั้งหมดใหพนักงานเจาหนาที่ทราบตามแบบการรายงาน

ทายระเบียบนี้

ขอ ๒๐ การควบคุมสิ่งกีดขวาง ใหมีกระบวนการในการควบคุมเพื่อใหเป>นไปตามมาตรฐาน

ที่กำหนดไวในขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือนและมีขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้

(๑) การกำหนดบุคลากรที่มีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแลใหพื้นที่ของสนามบิน ซึ่ง

ไดแก พื้นที่บินเขาสูสนามบิน พื้นที่บินออกจากสนามบิน และพื้นที่ขับเคลื่อนปราศจากสิ่งกีดขวางที่อาจเป>น

อันตรายตอความปลอดภัยของสนามบิน พรอมกำหนดวิธีการ ขั้นตอน ในการปฏิบัติและตรวจสอบการ

ควบคุมดูแลสิ่งกีดขวางในพื้นที่ของสนามบิน

(๒) การกำหนดแผนในการตรวจพินิจพื้นที่โดยรอบสนามบินเป>นประจำอยางสม่ำเสมอ

เพื่อใหมั่นใจวา ไมมีการกอสรางหรือแกไขเปลี่ยนแปลงอาคารหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่น หรือปลูกตนไมยืนตน

ตนไมเติบโตตามธรรมชาติใดๆ ที่อาจลวงล้ำพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวางของสนามบินกอนที่จะกอใหเกิดป„ญหาตอ

ความปลอดภัย พรอมทั้งกำหนดบุคลากรใหประสานการทำงานกับหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของหากตรวจพบมี

การกอสรางหรือปลูกตนไมยืนตน หรือตนไมเติบโตตามธรรมชาติที่อาจลวงล้ำพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวาง หรือมี

การกอสรางหรือปลูกตนไมยืนตนโดยรอบสนามบินโดยไมไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่

(๓) การตรวจสอบและรายงานการกอสรางหรือแกไขเปลี่ยนแปลงอาคารหรือสิ่งปลูกสราง

อยางอื่น หรือปลูกตนไมยืนตนภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ ใหมีรายละเอียดดังนี้

(ก) วิธีการตรวจสอบและรายงานการกอสรางหรือแกไขเปลี่ยนแปลงอาคารหรือสิ่ง

ปลูกสรางอยางอื่น หรือปลูกตนไมยืนตนภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ เพื่อควบคุมและปaองกันไมใหมี

การดำเนินการดังกลาวโดยไมไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศ รวมทั้ง

ไมใหมีการเติบโตโดยปราศจากการควบคุมของสิ่งกีดขวางตามธรรมชาติ เชน ไมยืนตน ที่อาจเกิดการลวงล้ำ

พื้นผิวไตระดับและพื้นผิวจำกัดสิ่งกีดขวางของสนามบินจนอาจเป>นอันตรายตออากาศยานได

- ๑๙ -

(ข) กระบวนการในการขออนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ในการกอสรางหรือแกไข

เปลี่ยนแปลงอาคารหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่น หรือปลูกตนไมยืนตนภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศเพื่อ

ใชเป>นแนวทางสำหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสนามบิน

(ค) การประชาสัมพันธQใหผูที่จะทำการกอสรางหรือแกไขเปลี่ยนแปลงอาคารหรือ

สิ่งปลูกสรางอยางอื่น หรือปลูกตนไมยืนตนภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ ทราบถึงกระบวนการในการ

ขออนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่

ขอ ๒๑ เพื่อประโยชนQในการเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของในพื้นที่สนามบินใหเป>นไปดวย

ความปลอดภัยและรวดเร็ว ในกรณีที่มีอากาศยานขัดของในพื้นที่เคลื่อนไหวหรือในพื้นที่ที่อาจกีดขวางและ

เป>นอันตรายตอการปฏิบัติการของอากาศยาน สนามบินอนุญาตตองมีวิธีดำเนินการในการเคลื่อนยายอากาศยาน

ที่ขัดของ ทั้งนี้ ใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและมีขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้

(๑) การกำหนดใหการเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุตองไดรับ

อนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ เวนแตเป>นกรณีการเคลื่อนยายอากาศยานหรือสวนของอากาศยานนั้นมิใหกีด

ขวางตอการเดินอากาศ ทั้งนี้ ใหเป>นไปตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศ

(๒) กระบวนการในการเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของใหพนจากพื้นที่เคลื่อนไหวหรือพื้นที่

ที่อาจกีดขวางและเป>นอันตรายตอการปฏิบัติการของอากาศยาน อันประกอบดวย การสำรวจ การวางแผน

การเตรียมความพรอม และการกูอากาศยาน ตลอดจนกระบวนการรายงาน ซึ่งควรแสดงใหเห็นการประสาน

ความรวมมือกับหนวยงานของรัฐและผูจดทะเบียนอากาศยาน เพื่อใหการเคลื่อนยายเป>นไปอยางสะดวก

รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

(๓) แผนการเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของของสนามบิน โดยใหมีรายละเอียดอยางนอย

เกี่ยวกับ

(ก) การกำ หนดผูประสานงานของสนามบินซึ่งทำ หนาที่รับผิดชอบในการ

ประสานงานเกี่ยวกับการปฏิบัติการเคลื่อนยายและกูอากาศยาน รวมถึงในการปฏิบัติตามแผนการเคลื่อนยาย

อากาศยานที่ขัดของของสนามบิน

(ข) หนาที่ความรับผิดชอบและขั้นตอนการดำเนินการตามแผนการเคลื่อนยาย

อากาศยานที่ขัดของของแตละหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ผูประสานงานของสนามบิน ผูจดทะเบียนอากาศยาน

หรือตัวแทนของผูจดทะเบียนอากาศยาน

(ค) รายการอุปกรณQและการขอรับการสนับสนุนชุดอุปกรณQที่ใชในการเคลื่อนยาย

หรือกูอากาศยานที่ขัดของ

(ง) รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกที่ใชสำหรับการเคลื่อนยายอากาศยาน

ที่ขัดของ เชน แผนที่สนามบิน เสนทางการเขาพื้นที่ การรักษาความปลอดภัยในการเคลื่อนยายอากาศยานที่

ขัดของ ขอมูลของอากาศยาน พื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับจัดเก็บอากาศยานที่ขัดของ

- ๒๐ -

ขอ ๒๒ นอกจากขอมูลตามขอ ๒๑ แลว เจาของหรือผูดำเนินงานสนามบินอนุญาตตองจัดทำ

กฎ ระเบียบ หรือความตกลงเกี่ยวกับการเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของเพื่อกำหนดใหผูจดทะเบียนอากาศยาน

ปฏิบัติตาม โดยใหมีกระบวนการและขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้

(๑) การกำหนดใหผูจดทะเบียนอากาศยานตองดำเนินการหรือจัดใหมีการเคลื่อนยายอากาศยาน

ที่ขัดของของตนใหแลวเสร็จโดยเร็วที่สุดตามที่สนามบินกำหนด

(๒) หากไมสามารถเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของไดตามกำหนดเวลาที่ระบุไวใน (๑) ตอง

กำหนดใหผูจดทะเบียนอากาศยานแจงเหตุผลความจำเป>นและอุปสรรคตอเจาของหรือผูดำเนินงานสนามบินอนุญาต

เพื่อขอขยายระยะเวลาในการดำเนินการเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของตามความเหมาะสม

(๓) ในการขอขยายระยะเวลาตาม (๒) ผูจดทะเบียนอากาศยานตองจัดทำแผนในการ

เคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของ เพื่อยื่นตอสนามบินอนุญาต พรอมทั้งตองปฏิบัติตามแผนดังกลาวดวย

(๔) ในกรณีที่ผูจดทะเบียนอากาศยานไมปฏิบัติตามกำหนดเวลาที่ระบุไวใน (๑) หรือไมปฏิบัติ

ตามแผนในการเคลื่อนยายอากาศยานที่ขัดของตาม (๓) สนามบินอนุญาตอาจกำหนดมาตรการบังคับใหผูจด

ทะเบียนอากาศยานยินยอมใหเจาของหรือผูดำเนินงานสนามบินอนุญาตเขารวมดำเนินการหรือจัดใหมีการ

ดำเนินการเคลื่อนยายอากาศยานดังกลาว ซึ่งรวมถึงการจางบุคคลภายนอกมาทำการเคลื่อนยายอากาศยานที่

ขัดของ

ขอ ๒๓ การจัดการกับวัตถุอันตราย ในกรณีที่สนามบินอนุญาตนำวัตถุอันตรายมาใชใน

กิจการสนามบิน ใหมีกระบวนการที่มีมาตรฐานและขอมูลตามที่กำหนดไวในคูมือการดำเนินงานสนามบินที่

ไดรับความเห็นชอบ รวมทั้งมีขอมูลดังตอไปนี้

(๑) การกำหนดใหบุคลากรที่มีหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวของกับวัตถุอันตรายมีความรู

เกี่ยวกับวัตถุอันตรายและไดรับการฝ…กอบรมในการจัดการกับวัตถุอันตรายโดยอยางนอยตองมีการอบรม

เกี่ยวกับการจัดการเชื้อเพลิงและการกูภัยและดับเพลิงดวย

(๒) ในกรณีที่สนามบินอนุญาตมีการดำเนินกระบวนการขนสงวัตถุอันตราย ใหมีการ

ตรวจสอบและดูแลสถานที่และขั้นตอนการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับวัตถุอันตราย ตลอดจนบรรจุภัณฑQของวัตถุ

อันตราย ทั้งในการขนสง การจาย การจัดเก็บ และการขนถายวัตถุอันตราย

ขอ ๒๔ การปฏิบัติ

หมายเลขบันทึก: 587865เขียนเมื่อ 24 มีนาคม 2015 17:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มีนาคม 2015 18:26 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท