ทบทวนระบบพิกัดโลก


ไม่ได้เขียน Blog มานานมาก แต่คราวนี้ที่ต้องกลับมาเขียนเพราะกลัวลืม และต้องการทบทวนเรื่องทรงกลมฟ้าให้กับเด็ก ๆ นักเรียนที่กำลังเรียนวิชาดาราศาสตร์ในส่วนเนื้อหาดาราศาสตร์ทรงกลม

ไปดูเรื่องแรกกันเลย ระบบพิกัดบนผิวโลก หรือที่เราถนัดเรียกว่าเป็นเส้นรุ้ง (ละติจูด) และเส้นแวง (ลองจิจูด) นั่นเอง หรือที่ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Latitude และ Longitude ในแบบจำลองด้านล่างนักเรียนสามารถเปลี่ยน ตำแหน่งบนโลกและดูการอ่านค่าละติจูดและลองจิจูดบนที่ต่าง ๆ บนผิวโลกได้ และคลิกลากที่ลูกโลกหากต้องการหมุนลูกโลกไปยังมุมมองที่ต้องการ

Longitude/Latitude Demonstrator

เมื่อทดลองและคุ้นเคยกับระบบพิกัดบนโลกแล้วเราก็จะเริ่มเรื่องต่อไปกันนะครับ

(animation สร้างโดย กลุ่มวิจัย Astronomy Education แห่ง University of Nabraska-Lincoln)

หมายเลขบันทึก: 579679เขียนเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2014 07:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2014 13:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท