บทสาขาที่ 4.9 เรื่อง เพลงที่มีอิทธิพลต่อร่างกายและเชาว์นสุขภาพทางจิตวิทยาและสังคม Music influences the physical and psychological health and social intelligence


 

กระบวนการความเชิ่อ The role of the Church

ถ้าได้รอบรู้ถึงคุณประโยชน์ต่อการเสริมบำรุงรักษาสุขภาพร่างกายและจิตว่า การใช้ steroids anabolic สารเร่งกล้ามเนื้อให้หนาขึ้น ทำร่างกายให้ดูหล่อเด่น อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพชีวิตดนตรีของพวกเขา เนื่องจากนักดนตรีบางท่านต้องการรูปทรงที่เก้งก้างเพื่อต้องการไม่ให้ตัวกีตาร์ดิ้นตอนสะพายขณะกำลังโชว์ฝีมือเพราะหลังของกีต้าร์ไปค้ำอยู่บนพุงที่กล่าวนั้นคือ บทบาทของกระบวนการความเชื่อ แต่บางท่านอาจพยายามที่จะปรับใช้สารประเภทนี้เพื่อสร้างกล้ามเนื้อใหม่ ผู้ทำหน้าที่เชี่ยวชาญได้กล่าวไว้เกือบทุกอย่างว่า จะไม่ดีสำหรับเราภายหลังที่นำใช้ออกเป็นจำนวนมากเกินพอ เพราะต้องการผลสัมฤทธิ์เร็วอย่างไม่รอเหตุผลว่าทำไม และคนที่ให้การตัดสินใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพนั้นไม่ได้เกี่ยวข้องกัน กับไม่ได้มีเหตุผลมากขึ้น ฉะนั้นบุคลิกภาพทางกาย ต้องการปัจจัยจากแรงบันดาลใจและอารมณ์ จึงสามารถมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางปัญญามากกว่า

1. ปัจจัยที่สร้างแรงบันดาลใจในความเชื่อ ผลการวิจัยแจ้งว่า ความต้องการของศิลปินดนตรีที่มีการตั้งค่าฝีมือต่อการดำเนินชีวิต เพื่อสุขภาพในอาชีพบันเทิง ตามสถานหลักนั้นย่อมมีสุราบุหรี่ และ

หญิงบริการ จัดเป็นองค์ประกอบงานบริการเป็นสำคัญ การตั้งค่านี้มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของสมาชิกที่เข้ารับบริการ บุคลากรที่รวมเป็นองค์ประกอบในสถานบันทิงนั้น พวกเขาคิดถึงความถูกต้อง และได้รับประโยชน์ข้อมูลใหม่แต่ละค่ำคืนที่ผ่านไป ผ่านกระบวนการที่เรียกว่ามีเหตุผลแรงจูงใจที่ต้องการเข้าถึงข้อสรุปเฉพาะเช่น ดำเนินบริการต่อไปและเชื่อว่าปัจจัย ได้สร้างแรงบันดาลใจ

การศึกษาได้แสดงให้เห็นถึงประมวลผลคิดที่ไม่ใช่เหตุผล non rational ในหลายประเภทของการตัดสินใจได้เกี่ยวข้องกับสุขลิกภาพ (บุคลิก + สุขภาพ) ของบุคคลกับการเจ็บป่วยเช่น โรคพิษสุราเรื้อรัง มักจะใช้รูปแบบการคิดด้วยวิธีกลบเกลื่อนอย่างมีเหตุผลต่อสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในขณะเริงอยู่ ณ สถานบันเทิง มีแนวโน้มที่จะไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำทางการแพทย์เพื่อสำหรับการจัดการความเจ็บป่วยของพวกเขา ส่วนอีกบุคคลหนึ่งซึ่งคำนึงถึงผลร้ายของโรคเอดศ์ ได้ใช้กลไกการป้องกันจำนวนมาก เพื่อรับมือกับข้อมูลความเครียดที่สร้างขึ้นมาจากตัวเอง จนเกิดวิตกและมีแนวโน้มจากความรู้สึกมากขึ้นกว่าบุคคลอื่นๆที่ไม่อาจปฏิเสธว่า พวกเขากำลังมีความเสี่ยงกับ โรคเอดส์อยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีอาการติดเชื้อสูง บางทีอาจเป็นความรู้สึกที่สูงกว่าบุคคลหนึ่งดังที่กล่าวมาแล้วได้คำนึงถึงผลร้ายของโรคเอดศ์นั้น ความต้องตาต้องใจเป็นภัยคุกคามจนเกิดแรงบันดาลใจให้มีความรู้สึกปฏิเสธต่อสุขทัศนคติ ทำนองเดียวกันกับบุคคลที่ดูเหมือนจะแยกเหตุผลของส่วนตัวประเภทไม่เกี่ยวข้องออก เป็นว่า ความน่าดึงดูดใจ เป็นพันธมิตรทางเพศของการตัดสินใจ ให้เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ กับคน

2. ปัจจัยทางอารมณ์ในความเชื่อ ปลูกฝังคนอื่นให้ทำตาม
ความเชื่อ มีผลไปกระทบกระบวนการความรู้สึกในอารมณ์ให้แสดงออกทางสีหน้าและท่าทาง นำเสนอรูปแบบไปยังประมวลผลการตัดสินใจ ทั้งมีเหตุผลและไม่มีเหตุผล ความเชื่อ เป็นปัจจัยสำคัญในรูปแบบนี้ รูปแบบที่อธิบายถึงลำดับความคิดต่อการตัดสินใจให้เกิดอารมณ์รวมทั้งการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพตามทฤษฎีการขัดแย้งทางความคิด เช่นลำดับความคิดที่บุคคลนั้นใช้ในการตัดสินใจเมื่อเดินทางมาถึง เริ่มมีเสถียรภาพเมื่อมีเหตุการณ์หนึ่งทำให้มีความท้าทายต่อบุคคลนั้น การกระทำหรือการดำเนินชีวิตที่ท้าทายสามารถเป็นได้ทั้งภัยคุกคามและการเอาชนะในเหตุนั้นได้ อาจเป็นอาการของการเจ็บป่วย หรือ ข่าวเกี่ยวกับอันตรายของการสูบบุหรี่กับความท้าทายประเมินการตอบคำถามโดยทั่วไปที่มีความเสี่ยงอย่างร้ายแรงว่า “ถ้าฉันไม่เลิกจะทำไม” การตัดสินไม่ได้เป็นลักษณะขั้นตอนของการทำงานอย่างมีกำหนด และสิ้นสุดขั้นตอนของการตัดสินใจ แต่ถ้าคำตอบคือใช่ กระบวนการฉับพลันทางความคิดอย่างต่อเนื่องสู่อารมณ์และการสำรวจทางเลือกเพื่อการจัดการกับความท้าทาย จะเริ่มกระบวนการทันที

 

ข้อสุดท้าย


ทฤษฎีความขัดแย้ง Theory of conflict. เสนอว่า ความเครียดต่อประสบการณ์ของบุคคลได้มีการตัดสินใจอย่างสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งยังเกี่ยวข้องกับสุขภาพ เพราะความขัดแย้งเกี่ยวกับสิ่งที่ทำตามเช่น ไม่ชอบวิธีการนั้นแต่ต้องทำตามเมื่อโดนบังคับ บุคคลเหล่านี้อาจไม่ทราบว่า อาจนำไปสู่ภัยร้ายแรง หรือความสูญเสียทางสังคมเช่นการกลายเป็นไร้ความสามารถทางร่างกาย หรือการสูญเสียความภาคภูมิใจของคนที่รัก วิธีของผู้กำหนดจะจัดการกับความเครียดที่อาจมีบทบาทสำคัญในพฤติกรรมต่อสุขภาพของบุคคลเหล่านี้ โดยกำหนดวิธีการอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อบุคคลที่จะจัดการให้การตัดสินใจ ในกรณีเกี่ยวข้องกับสุขภาพอย่างไร ทฤษฎีความขัดแย้งแสดงให้เห็นว่า บุคคลขณะเผชิญกับความขัดแย้งได้ตัดสินใจขึ้นอยู่กับความรู้สึกของตนเองตามความต้องการ และไม่มีความเพียงพอต่อประมาณการ คน Hypervigilance (ประมาณว่าโรคไฮเปอร์) บางครั้งดูมีความเสี่ยงอย่างรุนแรงในพฤติกรรมและทางเลือกของพวกเขา หากพวกเขาเชื่อว่ายังอาจพบทางออก แต่คิดว่าพวกเขาจะตั้งใจทำงานเพื่อเบี่ยงเบน คือนำงานมา กลบปัญหาสุขภาพประจำวันที่เขาได้รับอยู่ คนเหล่านี้มักจะค้นหาอย่างเมามันเพื่อการแก้ปัญหากับงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้างานให้สัญญาแล้ว สุขภาพจิตมีอาการบรรเทาทันที การระมัดระวังความเสี่ยงร้ายแรงในความเป็นไปได้ แต่เชื่อว่าพวกเขาอาจจะพบทางเลือกและมีเวลาในการค้นหาประสบการณ์ บุคคลเหล่านี้มักจะค้นหาอย่างละเอียดและให้ทางเลือกอย่างมีเหตุผล ความขัดแย้งยังปรับตัวได้อย่างต่อเนื่องเมื่อเกิดการตัดสินใจ ความท้าทายที่ประกอบด้วยคำเตือนของแพทย์หรืออาการที่เห็นชัดของการเจ็บป่วยในการเผชิญความเครียด การทดสอบสิ่งคาดการณ์ของตัวทฤษฎีเองถึงจุดแข็งและจุดอ่อนยังต้องขยายความชัดเจนต่อคำถามเล็กๆ น้อย ๆ ว่าผลกระทบของความเครียดเป็นปัจจัยสำคัญของการดำเนินการป้องกันโดยเฉพาะ

เพลงวิกฤติ Crisis music


ที่จริงข้อธิบายปัจจัยเหล่านี้ไม่ได้เป็นตรรกะมากนัก แต่ถ้าเกี่ยวข้องกับ Risilience Quotiment (RQ) ย่อมหมายถึงโอกาสอันหลากหลาย ในด้านภาวะเศรษฐกิจบันเทิงในยุคปัจจุบัน การศึกษาและหาประสบการณ์กับอุปสรรคการฝึกฝนหาวิชาดนตรีที่แทบมองไม่เห็นฝั่งภาวะเศรษฐกิจอำนวยผลให้ ต้องดำเนินในวิกฤติภาวะนั้นต่อไปที่มีความรู้สึกสาหัส

ทำให้มีแหล่งงานและสถานประกอบการหลายแห่งต้องปิดตัวลง ทำให้คนจำนวนมากต้องตกงาน ที่ยังมีงานทำอยู่ก็ต้องเหน็ดเหนื่อยกับค่าครองชีพที่พุ่งสูงขึ้น สภาพสังคมอยู่ในสภาวะล่อแหลม เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาฆ่าตัวตาย ยาเสพติด และลักวิ่งชิงปล้น

กรมสุขภาพจิตจึงออกกลเม็ดช่วยคนไทย "ตรวจเช็กสุขภาพจิต กู้วิกฤติด้วยอาร์คิว(RQ)"Ž

RQ คืออะไร.....

RQ (Resilience Quotient) เป็นศักยภาพทางอารมณ์และจิตใจในการปรับตัว และฟื้นตัวภายหลังเหตุการณ์วิกฤติ หรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความยากลำบาก อันเป็นคุณสมบัติหนึ่งที่จะช่วยให้บุคคลผ่านพ้นปัญหาอุปสรรค และดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

RQ จึงเป็นพลังสุขภาพจิตที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในสถานการณ์ที่คนเราต้องการพลังสุขภาพจิตมากกว่าภาวะทั่วไป โดยพลังสุขภาพจิตนี้จะนำพาให้เราก้าวผ่านไปได้

RQ สร้างได้อย่างไร.....

กรมสุขภาพจิตได้แนะนำหลักคิดสู่ RQ ไว้สั้นๆ เพียง 3 คำคือ ฉันเป็น ฉันมี ฉันทำได้
(I am, I have, I can) คือ ฉันเป็นคนอดทนเข้มแข็ง พึ่งตัวเองได้ ฉันมีกำลังใจ มีคนรักและห่วงใย ฉันทำสิ่งที่เป็นประโยชน์อื่นๆ ได้

โดยใช้เทคนิค 4 ปรับ 3 เติม เพิ่ม RQ ดังนี้

ปรับ คือ
1.ปรับอารมณ์
2.ปรับความคิด
3.ปรับการกระทำ
4.ปรับเป้าหมาย

เติมคือ
1 เติมศรัทธา
2 เติมมิตร
3 เติมจิตใจให้กว้าง

คนที่มี RQ เป็นคนอย่างไร.....

ศักยภาพทางสุขภาพจิต RQ จะแสดงออกได้โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ กล่าวคือ


ระดับพื้นฐาน คือ

เมื่อเผชิญวิกฤติยังสามารถดำรงความสงบสมดุลทางอารมณ์ สุขภาพ และคุณภาพชีวิตไว้ได้

ระดับที่สอง คือ

เมื่อพบปัญหาสามารถลุกขึ้นมาจัดการปัญหา แสดงออกถึงการเป็นคนที่มุ่งแก้ปัญหามากกว่าติดอยู่ในกับดักของอารมณ์และความรู้สึก

ระดับที่สาม คือ

แม้ในยามที่มีความทุกข์ แต่ก็ยังมีความรู้สึกว่าตนมีคุณค่า มีความมั่นใจ และมีมุมมองต่อตนเองในเชิงบวก

ระดับที่สี่ คือ

มีทักษะการจัดการทางอารมณ์ที่จะฟื้นตัวได้เร็ว หายจากความเศร้าเสียใจได้เร็ว

ระดับที่ห้า คือ

เป็นระดับสูงสุด ความสามารถหรือพรสวรรค์ที่จะเปลี่ยนโชคร้ายให้กลายเป็นดี หรือเปลี่ยนวิกฤติให้

เนื่องในโอกาศขึ้นปีใหม่ พ.ศ. 2552 กรมสุขภาพจิตตระหนักถึงปัญหา วิกฤตที่กระทบต่อชีวิตประชาชนอย่างน้อยสามด้าน คือ วิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตในชีวิต และวิกฤตทางการเมือง โดยเฉพาะปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำที่กำลังเป็นปัญหาใหญ่ในปัจจุบัน

ดังนั้นกรมสุขภาพจิตจึงจัดโครงการรณรงค์ชวนคนไทยประเมิน "พลังสุขภาพจิต" เพื่อจะได้รู้ว่าตนเองมีพลังสุขภาพจิตพอเพียงสำหรับการรับมือกับเหตุการณ์วิกฤตต่างๆ หรือไม่ และจะเสริมสร้างพลังทางสุขภาพจิตดังกล่าวได้อย่างไร ซึ่งทุกคนควรได้เตรียมพร้อมให้ตัวเองมีต้นทุนทางสุขภาพจิตเพียงพออยู่เสมอ

การประเมินพลังสุขภาพจิตนี้สามารถทำได้ด้วยตนเอง โดยใช้แบบประเมินที่กรมสุขภาพจิตพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อใช้วัดความสามารถทางอารมณ์ และจิตใจในการเผชิญปัญหาวิกฤต เรียกว่า การประเมินอาร์คิว (RQ : Resilience Quotient)

 

                                                                                              ณัฐนพ มนู อินทาภืรัต

 

หมายเลขบันทึก: 566463เขียนเมื่อ 21 เมษายน 2014 22:45 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 เมษายน 2014 12:36 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เพลงที่มีอิทธิพลต่อร่างกายและเชาว์นสุขภาพทางจิตวิทยาและสังคม.....ถูกต้องค่ะ .... ความสุขเกิดได้จริงๆ ค่ะ

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท