หมี่ลวดลาวเวียง 2 ไหมมัดหมี่วัฒนธรรมสองฝั่งโขง


สรุปเรื่องหมี่ลวด 2

บันทึกที่แล้วว่าด้วยเรื่องของลวดลายของหมี่ลวดในกลุ่มลวดลายนาก มาบันทึกนี้มีอีก 2 กลุ่มนะครับไปดูกันว่ามีลวดลายงาม ๆอะไรอีกบ้าง

  • กลุ่มลายดอกไม้และพืชพรรณ ลายกลุ่มนี้พบมากเป็นทั้งหมี่ลวดและลายหมี่ประกอบของลวดลายหลักในผืนผ้า โดยช่างทอได้นำเอารูปแบบของพืชมาประดิษฐ์ลายเช่น ลายดอกหมากจับ ลายโคมห้า ลายดอกง่ามเปีย  ลายเอื้อส้อยพ้าว ลายโคมดอก  ลายตาหมากนัด

  <ul style="margin-top: 0cm"><li class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: list 36.0pt">กลุ่มลายจากสิ่งของเครื่องใช้ กลุ่มนี้เป็นการนำลวดลายจากสิ่งของเครื่องใช้มาประดิษฐ์สร้างสรรค์ลวดลายขึ้นเช่น ลายขอกะแจหรือลายขอกุญแจลวดลายนี้คาดว่าจะได้รับอิทธิพลจากลวดลายของจีน  เราสามารถพบในผ้าทอเทคนิคอื่น ๆ อีกด้วยเช่น ผ้าขิดและพบลวดลายขอกะแจในลวดลายทางสถาปัตยกรรม  ตู้พระธรรม ฯลฯ นอกจากนั้นยังพบลายสิ่งประดิษฐ์ที่สัมพันธ์อยู่กับความเชื่อเช่น หมี่ล่วงลายดางแห</li></ul><p style="margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: list 36.0pt" class="MsoNormal" align="center"></p>  

คำสำคัญ (Tags): #silk
หมายเลขบันทึก: 55163เขียนเมื่อ 19 ตุลาคม 2006 17:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:35 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท