อะไรซ่อนอยู่หลัง ฯ และ ฯ ล ฯ


I went to royin.go.th and dropped by at their webboard. A question drew me in :

ทำไม ประโยค จึงอ่านว่าประโหยก ไม่อ่านว่า ประ โยก ครับ 

There are 2 replies. One says : 

การอ่านคำไทยไม่ตามหลักเกณฑ์ อ่านอย่างอักษรนำเพื่อความไพเราะและสะดวกในการออกเสียง และตามความนิยม โดยมากเป็นคำยืมที่ถูกนำมาอ่านตามอักขระวิธีของไทย ทั้งที่คำเหล่านั้นไม่ใช่อักษรนำก็ตาม เช่น ดำริ (ดำ-หริ) บัญญัติ (บัน-หยัด) บุรุษ (บุ-หรุด) ประมาท (ประ-หมาด) ประโยค (ประ-โหยก) ประโยชน์ (ประ-โหยด)  ประวัติ (ประ-หวัด) ยุโรป (ยุ-โหรบ) อนาถ (อะ-หนาด)

Another refers to การอ่านคำตามความนิยม  จุพาพร ผิดแลงาม  http://www.learners.in.th/blogs/posts/411206 which offers more details such as : 

๒)  อ่านอย่างคำสมาส
เพื่อต้องการจะให้ออกเสียงสะดวกและไพเราะแม้ว่าคำเหล่านั้นจะไม่ใช่คำสมาสเช่น

พลเมือง  อ่านว่า  พน-ละ-เมือง
พลเรือน  อ่านว่า  พน-ละ-เรือน
กรมหลวง  อ่านว่า  กรม-มะ-หลวง
กรมขุน  อ่านว่า  กรม-มะ-ขุน
ตรัสรู้  อ่านว่า  ตรัด-สะ-รู้
ผลไม้  อ่านว่า  ผน-ละ-ไม้
พลความ  อ่านว่า  พน-ละ-ความ
ราชวัง  อ่านว่า  ราด-ชะ-วัง
สรรพสิ่ง  อ่านว่า  สับ-พะ-สิ่ง
ดาษดา  อ่านว่า  ดาด-สะ-ดา
กรมท่า  อ่านว่า  กรม-มะ-ท่า
  ฯลฯ

To a learner like me, a question - what are in that "black box"/what are hidden behind and ฯลฯ ?

I dashed about over the Net for a few minutes and found various bits and pieces but not any complete list. Surely, after many hundreds years of using Thai language, we should have a 'full list' of the words and how they read by now. I expect/suspect that the Royal Institute Thai Dictionary (2554 BE edition) would list/indicate them ALL. But I have been wrong many times before ;-)

Would you help me open the black box ( and ฯลฯ) and list everything in it, so we (and our children and their children) know how to read Thai (words) properly?

After all Thai words are Thai treasure and we should have 'equal' (and free) access to them.


NB.

th.wikipedia.org/wiki/ไปยาลใหญ่‎: ไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ (ฯลฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนอย่างหนึ่ง ในการเขียนภาษาไทย

(DPR Pali Dictionary) peyyāla: an indication to show that a passage has been omitted.

คำสำคัญ (Tags): #ไปยาล#ฯ#ฯลฯ#peyyaala
หมายเลขบันทึก: 541117เขียนเมื่อ 2 กรกฎาคม 2013 05:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 2 กรกฎาคม 2013 05:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

I have been told to read

ฯ ละ or ปะ (or sometimes เป)

ฯลฯ ละ(ละ) or ลา or ปะ (or sometimes เป)

following a certain Pali convention explained in Pali English Dictionary by TW Rhys Davids:

"...Peyyāla (nt.?) [a Māgadhism for pariyāya, so Kern, Toev. s. v. after Trenckner, cp. BSk. piyāla and peyāla MVastu iii.202, 219] repetition, succession, formula way of saying, phrase (=pariyāya 5) Vism 46 (˚mukha beginning of discourse), 351 (id. and bahu˚ -- tanti having many discourses or repetitions), 411 (˚pāḷi a row of successions or etceteras); VvA 117 (pāḷi˚ vasena "because of the successive Pāli text"). -- Very freq. in abridged form, where we would say "etc.," to indicate that a passage has be to repeated (either from preceding context, or to be supplied from memory, if well known) The literal meaning would be "here (follows) the formula (pariyāya)." We often find pa for pe, e. g A v.242, 270, 338, 339, 355; sometimes pa+pe combd e. g. S v.466. -- As pe is the first syllable of peyyāla so la is the last and is used in the same sense; the variance is according to predilection of certain MSS.; la is found e. g. S v.448, 267 sq.; or as v. l. of pe: A v.242, 243 354; or la+pe combd: S v.464, 466..."

Would anyone or any teacher of Thai language give me a correct Thai reading of ไปยาล ( and ฯลฯ)?

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท