มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR ) ที่เป็นสากล


                                มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR ) ที่เป็นสากล

                     มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR ) ที่เป็นสากลจากแหล่งที่มา ดังนี้

                      - UN Global Compact                                   - OECD Guidelines

                      - GRI (Global Reporting Initiative)                 - มาตรฐาน ISO 26000

                                   ตารางแสดงแนวปฏิบัติด้านมาตรฐาน  CSR ที่เป็นสากล


สาระ

สำคัญ
UN Global Compact
OECD Guidelines                
Global Reporting
Initiative(GRI)
ISO26000
ประวัติ
ความ
เป็นมา
ข้อตกลงโลกห่งสห
ประชาชาติถูกริเริ่มขึ้น
ในปี2542 โดย Kofi 
Annan เรียกร้อง
องค์กรธุรกิจแสดง
ความเป็นพลเมือง
ที่ดีของโลก
 Responsible
Corporate Citizen
 ในการประชุม World
Economic Forum
เสนอบัญญัติThe UN
Global Compact

องค์การเพื่อความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจ
การพัฒนา
(Organization
for Economic
Co-operation and
Development)
จัดตั้งปี2504 
พัฒนาจากองค์การ
ความร่วมมือเศรษฐกิจ
ภาคพื้นยุโรปให้บรรษัท
ข้ามชาติยึดถือปฏิบัติ
เพื่อแสดงความรับผิด
ชอบต่อสังคม

GRI เป็นสถาบัน
อิสระ ได้พัฒนา
กรอบการรายงาน
ความยั่งยืนG1
ตั้งแต่ปี2543
ปรับปรุงฉบับล่าสุด
G3.1ปี2544
ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีองค์กรมากกว่า 3,600
แห่งทั่วโลกได้จัดทำรายงานตามกรอบ
 GRI
 แผยแพร่แล้ว
กว่า 8,500 ฉบับ

ริเริ่มปี 2544โดยคณะ
กรรมการ
นโยบายผู้บริโภค
มาถึงการประชุม
ภาคีผู้มีส่วนได้เสีย
 ปี 2547 สู่การจัดตั้ง
คณะทำงาน
ด้านความรับผิดชอบ
ต่อสังคม (ISO/WG SR)
 พัฒนาเป็นมาตรฐาน ISO 26000ประกาศ
เป็นมาตรฐานระหว่าง
ประเทศเมื่อวันที่ 1
 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

หลัก

การและ

แนวปฏิบัติ


หลักการ10ประการ

ด้านสิทธิมนุษยชน

1.เคารพการปกป้อง

2.ล่วงละเมิดสิทธิ

ด้านแรงงาน

3.ตระหนักถึงเสรีภาพ

4.ขจัดแรงงานเกณฑ์

5.ยกเลิกแรงงานเด็ก

6.ขจัดการเลือกปฏิบัติ

ด้านสิ่งแวดล้อม

7.คำนึงผลกระทบ

8.อาสาจัดทำกิจกรรม

9.เทคโนโลยีเป็นมิตร

ด้านการต้านทุจริต

10.ต้านการให้สินบน

ภายใต้ OECD 

Guidelines

 for MNES ขั้นตอน

ในเบื้องต้น

-การเปิดเผยข้อมูล

-การจ้างงาน

-สิ่งแวดล้อม

-ต่อต้านการรับสินบน

-สิทธิผู้บริโภค

-วิทยาศาสตร์/

เทคโนโลยี

-การแข่งขัน

-การเสียภาษี

การดำเนินงาน 3 มิติ

1.ด้านผลผลิต/บริการ 

 -รายได้

-กำไรสุทธิ

-สัดส่วนการส่งออก

-อัตราส่วนรายได้

2.ด้านสิ่งแวดล้อม

-การใช้พลังงาน

-การใช้น้ำ

- ของเสีย

-มลพิษทางอากาศ

3.ด้านสังคม

-สัดส่วนแรงงาน ช/ญ

-แรงงานในประเทศ

-จำนวนพนักงาน

-อัตราการลาออก

หลักการ 7 ประการดังนี้

1.สามารถตรวจสอบได้

2.ความโปร่งใส

3.ปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม

4.คำนึงถึงประโยชน์

5.เคารพต่อหลักนิติธรรม

6.เคารพแนวปฏิบัติสากล

7.เคารพสิทธิมนุษยชน

ประเด็นหลัก 7ประการ

1.สิทธิมนุษยชน

2.ธรรมาภิบาลองค์กร

3.ดำเนินงานเป็นธรรม

4.ข้อปฏิบัติด้านแรงงงาน

5.สิ่งแวดล้อม

6.ประเด็นด้านผู้บริโภค

7.การพัฒนาสังคม

วัตถุ

ประ

สงค์
เพื่อนำไปใช้ในการ
ดำเนินกิจกรรมทาง
ธุรกิจ ให้ได้ชื่อว่า
เป็น บรรษัทพลเมือง
ที่มีความรับผิดชอบ หรือResponsible
 Corporate Citizen
ในสังคมโลก
เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติ
สำหรับบรรษัทข้ามชาติ
ที่สามารถยึดถือปฏิบัติ
โดยสมัครใจเพื่อแสดง
ความรับผิดชอบต่อสังคม
ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลในต่างประเทศ
ต่าง ๆ
เพื่อที่จะช่วยให้
องค์การมีแนวทาง
การแสดงความ
โปร่งใสในการ
ดำเนินงานใส่ใจสิ่งแวดล้อม/สังคม
ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
เรื่องCSRตามกฎหมาย
 เพื่อสร้างภาพลักษณ์
 ลดปัญหาผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม การใช้
ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
เสริมสร้างชุมชนและ

เอกสารอ้างอิง

กิตติพงศ์ จิรวัสวงศ์. (2554).ISO 26000 มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม (ตอนที่ 1). [Online]. Available: 

            http://www.csrcom.com/article_show.php?id_show=81

เกศมณี  พฤกษาประดับกุล. (2553). การให้ความหมายและรูปแบบกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมใน

           ความต้องการลูกค้าธนาคารออมสิน. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการ

           ประกอบการมหาวิทยาลัยศิลปากร.

คณะทำงานส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทจดทะเบียน. (2551). เข็มทิศธุรกิจ 

          เพื่อสังคม Corporate Social Responsibility Guidelines.  พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ: ไอคอนพรินติ๊ง.

นิภา วิริยะพิพัฒน์.(2552). ก้าวทันกระแส CSR: ความพร้อมสู่มาตรฐาน ISO 26000.วารสารวิชาการ

          มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 29(3) : 195.

บัณฑิตา  ทรัพย์กมล (2544). ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรภาคธุรกิจ: ศึกษาเฉพาะกรณีโรงงาน

          อุตสาหกรรมเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต  คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

          มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิพัฒน์ ยอดพฤติการ.(2553).ตั้งไข่ให้CSR.[Online].Available:pipatory.blogspot.com/2012/05/csr_10.html

          มหาวิทยาลัยบัณฑิตย์. ศูนย์วิจัย. (2548). การสำรวจพฤติกรรม ทัศนคติของผู้บริโภคเกี่ยวกับความ 

          รับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรการธุรกิจในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธุรกิจ.

รุ่งทิวา  แซ่ตั้ง. (2550). กลยุทธ์การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมของตราสินค้าบรีส. วิทยานิพนธ์ปริญญา

          มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์  คณะนิเทศศาสตร์, สาขาวิชาการโฆษณา.

รัตนา  รัตนะ. (2551). ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของ บจม. ธนาคารกรุงไทย : กรณีศึกษา

         โครงการกรุงไทยยุววาณิช. ปริญญานิพนธ์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สถาบันไทยพัฒน์. (2555).  ซีเอสอาร์กับข้อตกลงโลก10 ประการ. มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยใน 

         พระบรมราชูปถัมภ์.  [Online]. Available:  http://thaicsr.blogspot.com/2006/05/10.html

อนันตชัย ยูรประถม. 2550. “กรอบตัวชี้วัดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ.”ใน รายงานการ

         สัมนาเรื่อง ครบเครื่องรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการประเมินผล CSR, หน้า 1-3.

          กรุงเทพมหานคร: สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม.

อนันตชัย  ยูรประถม. (2550).  เปิดตำนาน CSR…พิสูจน์คุณค่าจากภายใน.[Online]. Available: 

          http://202.183.190.2/FTPiWebAdmin/knw_pworld/image_content/70/pw70_5lds4.pdf.

อนันตชัย  ยูรประถม. (2552). CSR :พลังบริหารธุรกิจยุคใหม่. กรุงเทพฯ : มติชน.

อมราพร  ปวะบุตร.(2550).  ความสัมพันธ์ระหว่างความโปร่งใส ความรับผิดชอบต่อสังคมกับภาพลักษณ์

          องค์การของธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย

          มหาสารคาม.

Crane & Desmond. (2002). Societal marketing and morality. European Journal of Marketing, 36(5/6), 

          548-569.

Luo, Xueming and C.B. Bhattacharya (2006), “Corporate Social Responsibility, Customer 

          Satisfaction, and Market Value,” Journal of Marketing, 70 (October), 1–18.

Pohle, George and Jeff Hittner (2008), “Attaining Sustainable Growth Through Corporate 

          Social Responsibility,”IBM Global Services, (accessed January 25, 2013)[available

          athttp://www05.ibm.com/innovation/uk/green/pdf/Sustainable_Growth_through_CSR.pdf].

Stigson. Bjorn. 2007. Environmental Finance  [On - line]. Available :

           http://www.financialexpress.com/new/businesses-cannot-succed-in-societies-that- fail/282253



หมายเลขบันทึก: 535229เขียนเมื่อ 8 พฤษภาคม 2013 21:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 พฤษภาคม 2013 21:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท