การออกแบบใย (Web Design) (3)


เจเอสพี (Java Server Page: JSP) เทคโนโลยีนี้ประดิษฐ์โดยซันไมโครซิสเต็ม (Sun Microsystem) หลัง ASP เจเอสพีรวมการใช้ HTML และติดรหัสโปรแกรมจาวา ที่ให้ พลวัต การโต้ตอบ ความจุขับเคลื่อนข้อมูลที่แสดงบนหน้าใย เมื่อผู้ใช้ทำการร้องขอผ่านตัวแสดงผล รหัสที่ติดจะวิ่งในเครื่องยนต์ผู้ส่ง (Server engine) วิเคราะห์แยกแท็กเจเอสพี (JSP tags) ตัวต้นฉบับและส่งผลกลับเหมือนหน้า HTML ไปยังตัวแสดงผล หน้า JSP ใช้ .jsp เป็นชื่อไฟล์

ภาษาโคลด์ฟิวชั่นมาร์คอัป (Clod Fution Markup Language : CFML) เป็นเทคโนโลยีพัฒนาประยุกต์ใย ที่ก้าวหน้าชิ้นหนึ่งด้วยเหมือนกัน แนะนำโดยบริษัทอัลาเอร์ (Allaire) ปัจจุบันควบรวมกิจการกับบริษัทมาโครมีเดีย (Macromedia) CFML เป็นเทคโนโลยีสำหรับผู้พัฒนามืออาชีพที่ต้องการประดิษฐ์พลวัตประยุกต์ใย และหน้าใยโต้ตอบ อนุญาตให้รวมผู้แสดง ผู้ส่ง และเทคโนโลยีฐานข้อมูล เป็นการประยุกต์ใยที่มีพลัง โดยรวมมาตรฐาน HTML ด้วยภาษาบ่งชี้ด้านผู้ส่งอย่างตรงไปตรงมา CFML ใช้ .cfm เป็นชื่อไฟล์

จาวา (Java) แนะนำในปี พ.ศ.2538 (ค.ศ. 1995) โดยบริษัทซันไมโครซิสเต็ม เป็นพลวัตแข็งแรง วัตถุแวววาว (Object-oriented) วิถีอิสระ (independent platform) เป็นภาษาโปรกแรมสนองประสงค์ทั่วไป จาวามีขีดความสามารถให้ประยุกต์การประดิษฐ์ใยสำหรับอินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต และโครงข่ายกระจายที่ซับซ้อนอื่นใด เช่นเดียวกันจัดเครื่องประกอบกระจุกกระจิก (gadget) ใหผู้บริโภค และเครื่องใช้ดิจิตอล การประยุกต์จาวาขนาดเล็กเรียก จาวาแอ็ฟเพ็ล์ต (Java applet) สามารถลงภาระได้จากผู้ส่งใย วิ่งบนคอมพิวเตอร์บุคคล ด้วยผู้แสดงใยจาวา เช่น เน็ตส์เคฟคอมมูนิเคเตอร์ และไมโครซอฟต์อินเตอร์เอ็กซ์พอลเรอร์

จาวาสคริฟต์ (Java Script) เป็นเครื่องมือที่รวบรวมไว้อย่างประณีต ข้ามวิถี ภาษาทำการต้นฉบับฐานวัตถุสำหรับลูกค้า และผู้ส่งประยุกต์ใช้ ด้วยจาวาสคริฟต์สามารถประดิษฐ์พลวัตประยุกต์ใย โดยติดต้นฉบับในไฟล์ HTML ดูได้โดยรหัสแหล่งกำเนิด (source code) การประยุกต์สามารถให้ผู้ใช้คำนวณ และจัดเตรียมคำตอบทั้งหมดบนคอมพิวเตอร์ผู้ใช้ โดยไม่ต้องส่งข้อมูลอื่นใดไปยังผู้ส่ง สามารถเขียนจาวาสคริฟต์บนวินโดส์น็ตแพ็ด (Windows Notepad) บรรณาธิการไฟล์โปรแกรมหรือบรรณาธิการอักษร (Text Editor) อื่น แล้วสอดจาวาสคริฟต์ติดลงในไฟล์ HTML ในการประยุกต์ใช้งาน

วิชวลเบสิก (Visual Basic) เป็นภาษาโปรแกรมไมโครซอฟต์อันดับหนึ่งที่ใช้สามัญ สำหรับเขียนชิ้นส่วนและประยุกต์ที่มีสมรรถนะสูง วิชวลเบสิก 6.0 (Visual Basic 6.0 ) รู้จักกันว่าเป็นชุดสำนักงานศิลป์ 6.0 (ห้องศิลปะ :สตูดิโอ 6.0 : Studio 6.0) จัดเตรียมเครื่องมือชุดที่สมบูรณ์รวมฐานข้อมูลการประยุกต์อื่นใด ฐานข้อมูลรวมถึงเครื่องมือออกแบบสำหรับประดิษฐ์และปรับปรุงสำหรับผู้ส่ง SQL ไมโครซอฟต์ (Microsoft SQL Server) ออราเคิล 7.3.3 (Oracle 7.3.3) หรือสูงกว่า และฐานข้อมูล AS/400 ผู้พัฒนาวิชวลเบสิกสามารถประดิษฐ์ข้ามวิถี ผู้แสดงอิสระของการประยุกต์ใยรุ่นใหม่ของวิชวลเบสิก 6.0 คือ วิชวลเบสิกดอดเน็ต (Visual Basic.NET) เป็นส่วนหนึ่งของไมโครซอฟต์ดอดเน็ต วิชวลเบสิกดอดเน็ตง่ายและมีพลังมากกว่ามีคุณลักษณะเด่นใหม่ๆมากมาย เช่น การตกทอดวัตถุ (Object inheritance) การเก็บรักษาขยะ (garbage collection) และคุณลักษณะจัดเตรียมการบริหารหน่วยความจำที่ดีกว่า

วีบีสคริฟต์ (VB Script) เป็นส่วนย่อยส่วนหนึ่งของภาษาโปรแกรมไมโครซอฟต์วิชวลเบสิกใช้เร็ว พกพาและเป็นภาษาสคริฟต์น้ำหนักเบาสำหรับการเขียนประยุกต์ใย วีบีสคริฟต์ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของไมโครซอฟต์อินเตอร์เน็ตเอ็กซ์พอลเรอร์และไมโครซอฟต์อินฟอร์เมชั่นเซอฟเวอร์ (Microsoft Information Server : MIS) เหมือนจาวาสคริฟต์ วีบีเบสิกเป็นผู้แปลบริสุทธ์ (pure interpreter) ที่จัดการติดแหล่งรหัสโดยตรงกับเอกสาร HTML วีบีเบสิกเหมือนจาวาสคริฟต์ที่ไม่มีหน้าแอฟเพล็ตส์ (applets) เฉพาะแตใช้ตัวอัฉริยะและโต้ตอบในหน้า HTML วีบีเบสิกจึงเป็นอีกทางลือกหนึ่งสำหรับหน้าใยพลวัต

วิชวลซีดับเบิลพัส (Visual C++) เป็นภาษาโปรแกรมวัตถุแวววาว (Object Oriented Programming : OOP) ไมโครซอฟต์เป็นเจ้าภาพ วิชวลซีดับเบิลพัสเป็นเครื่องมือพัฒนาที่มีพลังสูงสุดชิ้นหนึ่งสำหรับวินโดวส์ ตัวอย่าง วิชวลซีดับเบิลพัสรุ่น 6.0 เอ็กซ์เซล (Visual C++ 6.0 excel) ประยุกต์การประดิษฐ์อย่างกว้างขวางรวมถึงอินเตอร์เน็ต ประยุกต์ใย พัฒนาผู้ส่งใย ชิ้นส่วนประกอบด้านผู้ส่งที่มีห้องสมุดแผ่นคัดลอกกัมมันต์ (Active Template Library : ATL) ในใยผู้ใช้มากมาย และการประยุกต์เข็มแข็งด้วยระดับพื้นฐานไมโครซอฟต์ (Microsoft Foundation Class: MFC) ประยุกต์ศูนย์ข้อมูลเครื่องมือฐานข้อมูลเห็นจริงและมีการเข้าออกหลายรูปแบบ

ซีชาร์ฟ (C#: C sharp) เป็นรุ่นที่ใหม่กว่าของไมโครซอฟต์วิชวลซีดับเบิลพัส มีภาษา OOP ที่ทันสมัยสร้างขึ้นเพื่อเสริมพลังการบริการในฐาน XML ให้กล้าหาญบนวิถีดอดเน็ต (.NET) ด้วยมรดกพัฒนา C++ ซีชาร์ฟมีขีดความสามารถให้ผู้พัฒนา C++ และ C ใช้ทักษะที่มีอยู่สร้างประยุกต์ในฐาน XML ที่ซับซ้อนได้รวดเร็วเหมือนรวมไมโครซอฟต์กับสหพันธ์ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ยุโรป (European Computer Manufactures Association: ECMA) เป็นมาตรฐานสากล เพื่อประดิษฐ์ C# ที่มีผู้ค้าส่งหลายราย

การออกแบบและพัฒนาใยสถิตอย่างง่าย (Designing and Developing a Simple Web Site) การออกแบบใยสถิตเป็นวิทยาศาสตร์และศิลป์ เหมือนศิลปะที่ปะทะผู้ใช้และผู้เยี่ยมเยียนใย นำเสนอแผนผังดึงดูดสายตา แผนภูมิสีสัน อักษรมิตรภาพผู้อ่าน และวิดีโอที่น่าสนใจ สั้นๆ เห็นชัดเจนว่าการออกแบบใยไม่ใช่วิทยาศาสตร์ในนัยแท้จริงของคำ ความสำคัญพื้นฐานลาดับของการออกแบบใยคือ คุณลักษณะสภาวะพื้นฐานของใยโลกกว้าง กุญแจคุณลักษณะคือการส่งสารสนเทศไม่สม่ำเสมอออกไปและการทำปฏิกิริยาบนฉาก (หน้าจอ: screen) ของคอมพิวเตอร์บนโต๊ะ (Desk Top) หรือสมุดพก (Note Book) โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีขีดความสามารถแสดงใย ปาล์ม พีซี (palm PC) การต่ออินเตอร์เน็ตโดยสายไฟเบอร์อ๊อฟติก (fiber optic: ใยแสง) เคเบิลทีวี และสายโทรศัพท์หน้าปัด (สายโทรศัพท์แป้น :dial-up phone line) เมื่ออกแบบใยสถิตผู้ออกแบบต้องเก็บใจเกี่ยวกับคุณลักษณะพื้นฐานเหล่านี้ของใย ดังนี้

การนำเสนอไม่สม่ำเสมอ (Nonlinear Presentation) ใยสถิตชิ้นหนึ่งควรออกแบบเหมือนใยแมงมุม โยงใยชั้นสูงหลากหลายมิติเพื่อความรวดเร็ว การนำร่องที่มีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง เป็นสื่อกลางการส่งสารสนเทศโดยตรง จัดเตรียมสารสนเทศเรียงตามลำดับ หนังสือ วารสาร วิทยุ ทีวี หนัง และการสอบ ที่ทำกันมานานหลายปี เครื่องมือเหล่านี้ส่งสารสนเทศสม่ำเสมอตามลำดับ เวลาและพื้นฐาน ผู้เขียน/ผู้ผลิต/ครูเป็นศูนย์กลาง ตรงข้ามกับใยโลกกว้างมีชีวิตขึ้นมาในชื่อ การนำเสนอไม่สม่ำเสมอ เป็นโครงข่ายโลกเชื่อมต่อโยงใยชั้นสูงหลายมิติ ด้วยโครงข่ายคมนาคมคอมพิวเตอร์มากมายเหลือคณานับ (innumerable) รอบโลก ใยสถิต คือ ผู้ใช้/เยี่ยมเยียน/นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ใช้ใกล้เคียงกับคุณลักษณะหลายสื่อ (Multimedia approach) เพื่อวัตถุประสงค์ในการค้นหาสารสนเทศ เรียนรู้ หาความเพลิดเพลิน และปฏิบัติการธุรกิจ จะกล่าวถึงบ้างดังรูปหน้าบ้าน  ที่ใยสถิต http://www.msn.com และ http://.netscape.com



รูป หน้าบ้าน http://www.msn.com


รูป หน้าบ้าน http://www.netscape.com


คำสำคัญ (Tags): #web design
หมายเลขบันทึก: 518853เขียนเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2013 18:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2013 18:07 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท