โครงสร้างรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity Action Service : CAS)


โครงสร้างรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity Action Service : CAS)

 

โครงสร้างรายวิชากิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity Action Service : CAS)

0.5 หน่วยการเรียน (หรือเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนอกเวลาเรียน)                    20 ชั่วโมง/ภาคเรียน

หน่วยการเรียนรู้

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้

เวลา

(ชั่ว

โมง)

คะ

แนน

ภาระงาน(ชิ้นงาน)

1

กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity)

1-4

- การวางแผนการเริ่มต้นโครงการ และงานวิจัย (โครงงาน)

- การเลือก และวิเคราะห์ หัวข้อโครงการ และงานวิจัย (โครงงาน)

- การเขียนเค้าโครงงานวิจัย (โครงงาน)

- การเขียนแผนปฏิบัติงาน โครงการ และงานวิจัย (โครงงาน)

10

30

ใบบันทึกกิจกรรม (Activity Report)

2

การปฏิบัติ (Action)

5-7

- การปฏิบัติตามแผนและตรวจสอบความก้าวหน้า โครงการ และงานวิจัย (โครงงาน)

- การเขียนรายงานโครงการ และเขียนรายงานการวิจัย (โครงงาน)

- การนำเสนอผลงาน และวิจารณ์ผลงาน

10

30

ใบบันทึกกิจกรรม (Activity Report) รายงานโครงการ (Project Report) และรายงานการวิจัย (โครงงาน) (Research)

3

การบริการ(Service)

8

เป็นกิจกรรมจิตอาสาบริการสาธารณะ ที่ไม่มีค่าจ้างตอบแทน มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความตระหนักรู้ มีสานึกความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม เป็นกิจกรรมอาสาสมัคร ที่กำหนดให้ผู้เรียนเลือกกระทำ เพื่อปลูกฝังความสง่างาม ความเป็นอิสระในการคิดให้เกิดในตัวผู้เรียน โดยผู้เรียนวางแผนเวลาทำกิจกรรมนอกเวลาเรียนเป็นกลุ่ม

นอกเวลาเรียน

40

ใบบันทึกกิจกรรม (Activity Report) /รายงานผลการทำกิจกรรมบริการ(Service)

รวม

20

100

ประวัติวิทยากร 

           ปริญญาเอกการศึกษาดุษฎีบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

           ประกาศนียบัตรนักพูดจากสมาคมฝึกการพูดแห่งประเทศไทย และสถาบันฝึกพูดทางการฑูต

ประสบการณ์ ครูโรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการรัชดา และโรงเรียนสตรีวิทยา

                เป็นวิทยากรของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์วิทยาศาสตร์ศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และกระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์

เป็นวิทยากรบรรยาย และอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การออกแบบการจัดการเรียนรู้              ด้วยเทคนิค Backward Design การพัฒนาทักษะการคิด การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยแบบบูรณาการ และ การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) ฯลฯ

ผลงาน Best Practice การพัฒนาทักษะการคิดโดยนักเรียนทำวิจัยแบบบูรณาการด้วย TCAIC Model

             Best Practice การพัฒนาบุคลากรด้วย PGKCASE Model

        Best Practice รักการอ่าน ผ่านกระบวนการคิด เศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่คุณธรรม ด้วย IRTSM Model

เคยเป็น เลขานุการของประธานกลุ่มประสิทธิภาพมัธยมศึกษา สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปัจจุบัน เป็นนักวิชาการและนักวิจัยอิสระ

ดร.ดำเนิน  ยาท้วม 081-7862797 Fax 02-5135029

หมายเลขบันทึก: 467288เขียนเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2011 11:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 22:09 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท