โครงสร้างรายวิชาทฤษฎีความรู้ TOK


โครงสร้างรายวิชาทฤษฎีความรู้ TOK

โครงสร้างรายวิชาทฤษฎีความรู้ (Theory 0f Knowledge  : TOK)

0.5 หน่วยการเรียน                                               20 ชั่วโมง/ภาคเรียน

หน่วยการเรียนรู้

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

ผล

การเรียน

รู้

สาระการเรียนรู้

เวลา (ชั่ว

โมง)

คะ

แนน

ภาระงาน(ชิ้นงาน)

1

การรับรู้           ด้วยความรู้สึก การสัมผัสรับรู้ (Sense Perception)

1-5

การรับรู้ด้วยความรู้สึก การสัมผัสรับรู้           จากเพลง (Songs) ภาพชีวิต (Human Life)           ภาพสัตว์ (Animals) และสัญลักษณ์ (Symbols)

5

10

ใบบันทึกกิจกรรม (Activity Report)

2

การรับรู้ความรู้             ทางภาษา (Language)

1-5

การรับรู้ความรู้ทางภาษาโดยใช้สัญลักษณ์ (Symbols) เครื่องหมาย (Signs) คำ (Words) ประโยค (Sentences) สัญลักษณ์ทางศาสนา (Religious Symbols) ความเชื่อ (Belief) วัฒนธรรม (Culture) และประเพณี (Tradition)

5

10

ใบบันทึกกิจกรรม

(Activity Report)

3

การรับรู้ความรู้              ด้วยอารมณ์ (Emotion)

1-5

การรับรู้ความรู้ด้วยอารมณ์ จากการ์ตูนภาพภาษากาย (Body Language from Cartoons) สถานการณ์จำลอง (Simulation) บทสนทนา (Conversation) เนื้อเรื่อง (Text)  และบทกวี (Poetry)

3

10

ใบบันทึกกิจกรรม

(Activity Report)

4

การรับรู้ความรู้              ด้วยเหตุผล (Reason)

1-5

การรับรู้ความรู้ด้วยเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) และ เหตุผล            แบบนิรนัย (Deductive Reasoning)

2

10

ใบบันทึกกิจกรรม

(Activity Report)

5

การเขียนรายงาน           การค้นคว้า (Study Report)

6

การเขียนรายงานการค้นคว้า                        ตามประเด็นที่โรงเรียนกำหนดให้เลือก (Study Report)

5

60

รายงานการค้นคว้า

(Study Report)

รวม

20

100

 ประวัติวิทยากร 

           ปริญญาเอกการศึกษาดุษฎีบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

           ประกาศนียบัตรนักพูดจากสมาคมฝึกการพูดแห่งประเทศไทย และสถาบันฝึกพูดทางการฑูต

ประสบการณ์ ครูโรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการรัชดา และโรงเรียนสตรีวิทยา

                เป็นวิทยากรของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์วิทยาศาสตร์ศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และกระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์

เป็นวิทยากรบรรยาย และอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การออกแบบการจัดการเรียนรู้              ด้วยเทคนิค Backward Design การพัฒนาทักษะการคิด การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยแบบบูรณาการ และ การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) ฯลฯ

ผลงาน Best Practice การพัฒนาทักษะการคิดโดยนักเรียนทำวิจัยแบบบูรณาการด้วย TCAIC Model

             Best Practice การพัฒนาบุคลากรด้วย PGKCASE Model

        Best Practice รักการอ่าน ผ่านกระบวนการคิด เศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่คุณธรรม ด้วย IRTSM Model

เคยเป็น เลขานุการของประธานกลุ่มประสิทธิภาพมัธยมศึกษา สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปัจจุบัน เป็นนักวิชาการและนักวิจัยอิสระ

ดร.ดำเนิน  ยาท้วม 081-7862797 Fax 02-5135029

หมายเลขบันทึก: 467284เขียนเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2011 11:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 19:33 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท