เสียงวรรณยุกต์


เสียงในภาษาไทย

ใบความรู้ที่ ๔

๒.๓  เสียงวรรณยุกต์

                ภาษาไทยมีรูปวรรณยุกต์  ๔ รูป  คือ................................................................................

มีแบบเสียง ๕ เสียง     (................) ,      (................) ,     (................) ,     (................) ,    (................)

แต่เครื่องหมายเหล่านี้ไม่ได้แทนเสียงวรรณยุกต์นั้นๆ ตรงเสมอไป เพราะต้องเปลี่ยนตามชนิดของพยัญชนะ ได้แก่ อักษรกลาง อักษรต่ำ อักษรสูง และ คำเป็น-คำตาย

อักษรสูง                ข    ฃ    ฉ    ฐ    ถ    ผ    ฝ    ศ    ษ    ส    ห

อักษรกลาง            ก    จ    ด    ต    ฎ    ฏ    บ    ป    อ

อักษรต่ำ ค    ฅ    ฆ    ง    ช    ซ    ฌ    ญ    ฑ    ฒ    ณ    ท    ธ    น    พ    ฟ    ภ    ม

                                ย    ร    ล    ว    ฬ    ฮ

คำเป็น .............................................................................................................................................

คำตาย............................................................................................................................................

 

 

หมู่อักษร

คำเป็น

คำตาย

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

กลาง

กา

ก่า

ก้า

ก๊า

ก๋า

-

กัก

กั้ก

กั๊ก

กั๋ก

สูง

-

ข่า

ข้า

-

ขา

-

ขัด

ขั้น

-

-

ต่ำ

คา

-

ค่า

ค้า

-

-

-

-

-

 

คะ

 

                              

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                              

 

 

ชาติ

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                     

 

สรุปเสียงพยัญชนะกับการออกเสียง

๑.อักษรกลางคำเป็น ผันได้ครบทุกเสียงและตรงตามรูป

๒.อักษรกลางคำตาย............................................................................................................................

๓.อักษรสูงคำเป็น ..............................................................................................................................

๔.อักษรสูงคำตาย..............................................................................................................................

๕.อักษรต่ำคำเป็น.............................................................................................................................

๖.อักษรต่ำคำตาย (เสียงยาว).............................................................................................................

                             (เสียงสั้น).............................................................................................................

 

 

 

ข้อสังเกตการออกเสียงวรรณยุกต์

ข้อสังเกต

เสียงวรรณยุกต์

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

๑.คำภาษาอังกฤษมีเสียงตรีใช้อักษรต่ำเขียนด้วยรูปโท

 

 

 

โน้ต โค้ก

แฟ้บ เต้น

เค้ก

 

๒.พยัญชนะต้นอักษรกลางและอักษรต่ำเสียงสามัญ

กิน   ดาว

เมา   นาย

 

 

 

 

     พยัญชนะต้นอักษรสูงคำเป็น

 

 

 

 

ผา  ถุง

สังข์  ฝัน

     พยัญชนะต้นคำตาย (ไม่มีรูป)

เพลง

ดาบ

ลอบ

วก

สาว

๓.พยัญชนะต้นอักษรกลาง

 

ไก่  เดี่ยว

 

 

 

                         อักษรสูง

 

ถั่ว   ส่อง

 

 

 

                         อักษรต่ำ (รูปเอก)

 

 

พี่  ชื่อ  ไช่

 

 

๔.พยัญชนะอักษรกลาง

 

 

ป้า  ต้น

อุ้ย  อ้าย

 

 

                    อักษรสูง

 

 

หุ้น  เสี้ยน

 

 

                    อักษรต่ำ (รูปโท)

 

 

เพี้ยง

โน้ม

 

 

 

ข้อสังเกต

เสียงวรรณยุกต์

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

๕.อักษรกลางใช้เสียงตรี และจัตวา ครบตามรูปตรีและรูปจัตวา

 

 

 

ตุ๊กตา

โป๊ะ

ก๊าซ

จุ๊ง

ก๋ง

จิ๋ว

อ๋อย

สามารถเขียนคำต่อไปนี้ให้ตรงตามเสียง

-          ฆ้อง

-          พลบ

-          ห้ำหั่น

-          เที่ยง

-          เหมือน

-          หลาย

-          แผล็บ

-          อสูร

-          เสื่อ

-          สมัคร

-          ห่วง

-          ลาม

-          ทาก

-          เฝ้า

-          เห็น

-          ฝาก

-          ขีด

-          เสียง

-          เพียง

-          ไปสิ

-          ไปซิ

-          ไปไหม

-          ไปมั๊ย(ผิดอักขรวิธี)

 

 

 

 

 

เสียง

สามัญ

เอก

โท

ตรี

จัตวา

แบบทดสอบ นักเรียนสามารถพิจารณาการใช้วรรณยุกต์ ในข้อความว่าคำไหนถูกหรือผิด

ข้อความ

คำ

คำ           เหตุผล

๑. โรง...................ใหม่เอี่ยมจัง

เตี้ยม

เตี๊ยม

๒.  ใครมายก......................ของยายไป

อั๊งโล่

อั้งโล่

๓.  คุณมาคนเดียวหรือ.............

คะ

ค่ะ

๔.  ขอบคุณมาก........................ ที่มาส่งถึงบ้าน

คะ

ค่ะ

๕.  .......................ซ้อขนมซ่อนไว้ใต้โต๊ะ

สิ้ม

ซิ้ม

๖.  คุณเก็บ...................เพลงไทยไว้ที่ครับ

โน๊ต

โน้ต

๗.  คุณยาย......................อยู่ริม..........................

คว้าน

กว้าน

คว๊าน

กว๊าน

๘.  ขวัญ.......................ข้าว..................ให้นกในลาน................

ขว้าง

ฟ่าง

กว้าง

 

๙.  พี่นั่ง......................อ้อย  น้องนั่ง....................... เทียน

ฟั่น

ควั่น

๑๐. พ่อเอา.....................มาโกยถ่าน

ปุ๊งกี๋

ปุ้งกี๋

หมายเลขบันทึก: 431374เขียนเมื่อ 16 มีนาคม 2011 12:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 มิถุนายน 2012 20:58 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

เสียงวรรณยุกต์

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท