ธรรมชาติของภาษาไทย


ท ๓๑๑๐๑

ใบความรู้ที่ ๑/๒๕๕๕

วิชาภาษาไทย ๑ ท ๓๑๑๐๑ นายสมเกียรติ  คำแหง

ธรรมชาติของภาษาไทย

ภาษาไทยมีลักษณะเฉพาะของตนเอง            ตามลักษณะสำคัญดังนี้

                ๑.ภาษาไทยเป็นภาษาคำโดดและเป็นภาษาเรียงคำ

                ๒.ภาษาไทยมีเสียง สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์

                ๓.ภาษาไทยมีเสียงหนักเบาต่างกัน

                ๔.ภาษาไทยเป็นภาษามีระดับ

                ๕. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง

                ๑.๑ ภาษาคำโดด  หมายถึงภาษาที่ใช้โดยอิสระ  แต่ละคำนำไปใช้โดยไม่ต้องเปลี่ยนรูปคำ

                -ไม่เปลี่ยนไปตามผู้กระทำ(การก)

                                ฉันไปโรงเรียน  (ประธานเอกพจน์บุรุษที่๑)               I go to school          

                                เขาไปโรงเรียน (..........................................)              He………………

          -ไม่เปลี่ยนไปตามพจน์ (..........................................)

                                เราไปโรงเรียน(ประธานเป็นพหูพจน์บุรุษที่๑)         We………………

          -ไม่เปลี่ยนไปตามกาล (...........................................)

                                เขากำลังไปโรงเรียน(ปัจจุบัน)                                          He is…………….

                   เขาได้ไปโรงเรียน (.....................................)             He has…………..

                   เขาจะไปโรงเรียน (......................................)             He………………

          การบอกพจน์ในภาษาไทย (พหูพจน์)ภาษาไทยไม่บอกพจน์แต่ใช้คำอื่นแทน

                                วันนี้ยุง............                                  เธอซื้ออะไรมา..................จ๊ะ

                                เขาหยุดงาน............... วัน                               แดงเลี้ยงวัวเป็น...................

                                ช้าง............กำลังกินพืชไร่              เด็ก......เข้าเรียนได้แล้ว

                                นักเรียน..............เชิญทางนี้           รถวิ่ง.........ขวักไขว่

                   .................เสื้อแดงร่วมชุมนุมประท้วง  แม่สอน..........ให้รักกัน

                                ...................สมานฉันเตรียมตั้ง ๓ อนุกรรมการฯ

                ประโยคต่อไปนี้ไม่ใช้คำบอกพจน์  ว่ามาก แต่ใช้คำที่มีความหมายว่ามากกว่าหนึ่งแทน

                                ร้านนี้ขายยาแพง.....................     วันนี้ฝนตก.....................

                                อาหารร้านนี้ขายดีเป็น.................                บ้านของแดงอยู่ไกล................

                                เขาชอบทิ้งของไว้................          ผ้าชิ้นนี้ดีกว่า.............................

                   เขาเป็นคนมีฐานะ...............            ในทีเกิดเหตุพบปลอกกระสุน....................

                การบอกกาลในภาษาไทยไม่ทำให้รูปกริยาเปลี่ยนไปตาม อดีต ปัจจุบัน อนาคต แต่มีคำอื่นมาบอกความหมายแทน

          คำที่บอกอดีตกาล 

                                น้องนอนหลับ.................                               ฉัน.............รักเขามาก

                                เพื่อนๆไปทำงานกัน..............        เธอไปทำอะไร............

                                ใครเอาเงินของฉัน.............             ...........เธอไปไหน

                   ...............เกิดเหตุแดงกับขาวทะเลาะกัน     ............รถคันนี้ประหยัดน้ำมัน

                คำที่บอกปัจจุบัน

                                .............ฝนตกหนัก                          เธอทำอะไร...........

                                เพื่อนๆ..............เล่นฟุตบอล          เขาเดินอยู่............

                                น้อง............กินข้าวไม่เสร็จ            .........พ่อเดินมา..............

                   .............เกิดเหตุแดงและภรรยาพร้อมด้วยลูกสาวกลับจากงานวัด

                คำที่บอกอนาคตกาล

                                เธอ..........ไปโรงเรียน                      บ้าน..................พังอยู่แล้ว

                   ....................เขาจะมา                     ถ้ามีโอกาสฉัน......เล่าให้ฟัง

                                เรา..........เจอกัน.................          ...............เราได้พบกันอีก

                   ........คุณ........เป็นลูกค้าที่ดีของบริษัท        ............คุณจะเป็นอย่างไรฉันก็รักคุณ

 

                การบอกเพศ  ภาษาไทยส่วนมากไม่เปลี่ยนคำไปตามเพศ อย่างภาษาอื่น ว่าเป็น ชาย หญิง เช่นบาลีสันสกฤต โจรา  โจรี , กุมารา กุมารี , ยักษา ยักษี , เทวา เทวี(เทพี) , บุตร บุตรี ,กษัตร กษัตรี

บิดา (ปิตา)มารดา(มาตา) ,สกุณา  สกุณี

แต่เรามีคำใช้เฉพาะบอกเพศได้

                พ่อ          ............                                ผัว           ..............             ปู่             ............                     ตา     ..............

                ช้างพัง   .............                               บ่าว         ..............             หนุ่ม      ...........     ผู้        ..............

ใช้คำประกอบคำนามเพื่อบอกเพศเช่น ตัวผู้ ตัวเมีย    พ่อ แม่  ชาย หญิง  หนุ่ม สาว  บ่าว  นาง นาย

  บอกเพศผู้           แมว...............    ..........บ้าน          น้อง............        โค...........            ท่าน..........

                                เจ้า................     ..........ม่าย           .........บ้าน            คุณ.........       เจ้าฟ้า............

 บอกเพศเมีย        สุนัข..............    ..........นม            น้อง...........         นาย...........          ท่าน.........                            ............มด                ..............ไทย      ..........สงกรานต์                น้า............           .............ชี

                   นางพญา               แม่ปลวก                คุณนาย(หญิง)    

ยกเว้นบบางคำที่ไม่ได้กำหนดว่าเพศหญิงชาย  นายอำเภอ  นายจ้าง  แม่สื่อ แม่น้ำ   แม่บันได

แม่เพลง  แม่บท  แม่ทัพ  นายทุน นายหน้า  เจ้านาย แม่โขง แม่กุญแจ แม่พิมพ์

                ๑.๒ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำ  หมายถึงคำคำเดียวทำหน้าที่หลายหน้าที่ในประโยคและ

มีหลายความหมายขึ้นอยู่กับการเรียงคำในประโยค  ต่างตำแหน่งกัน ทำหน้าที่ต่างกันความหมายก็ต่างกัน   เช่น ฉัน

                ฉันเดินเล่น                    เป็นคำ..............................              หมายถึง...............................

                พระฉันเพล                    เป็นคำ..............................              หมายถึง..............................

                เรารักกันฉันเพื่อน        เป็นคำ..............................               หมายถึง...............................

                หล่อนแต่งตัวเฉิดฉัน    เป็นคำ...............................    หมายถึง..............................

 

ประโยค

ลักษณะของคำ

ความหมาย

ดำเป็นนักกีฬา

 

 

ชาวนาดำนา

 

 

แดงชอบดำน้ำ

 

 

คนดำใจดี

 

 

คำเดียวมีหลายความหมาย (บอกความหมายของคำว่าตก)

สำนวน

ความหมาย

น้องทำแก้วตกแตก

 

ลมพัดจัดมะม่วงตกจากต้น

 

แดดร่มลมตกแล้วค่อยไป

 

แม่ครัวร้านนี้ฝีมือตก

 

เมื่อคืนฝนตกหนักทั้งคืน

 

ชาวนาพากันตกกล้า

 

อย่ามาเที่ยวตกเป็ดแถวนี้

 

หนุ่มแถวนี้เหมือนปลาตกปลัก

 

ฉันเหมือนตกถังข้าวสาร

 

ทำไมจึงตกปากตกคำเขาง่ายๆ

 

ทำตัวดีฉันจะตกรางวัล

 

มีสินค้าตกมาใหม่หลายอย่าง

 

ไม่อยากสอบตกวิชาภาษาไทย

 

สวยและเก่งอย่างนี้ตกได้หลายแสน

 

 

 

ทดสอบความเข้าใจบอกชนิดของคำและความหมายจากประโยค

ประโยค

ชนิดของคำ

ความหมาย

ชาวบ้านเอากกไปทอเสื่อ

 

 

ไก่กกไข่อยู่ในเล่า

 

 

ฉันปวดที่กกหู

 

 

เขามีหนังสือโบราณอยู่หนึ่งผูก

 

 

เธอผูกคิ้วนิ่วหน้าอยู่เสมอ

 

 

ละครเรื่องนี่จืดมาก

 

 

พอถูกต่อว่าก็ทำหน้าจืด

 

 

หมู่นี้เขาจืดจาง

 

 

 

                คำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน

ในภาษาไทยมีคำจำนวนมากที่มีความหมายใกล้เคียงกัน คำบางคำอาจใช้แทนกันได้

บางคำแทนกันไม่ได้ เช่น

 

คำที่มีความหมายเกี่ยวกับ การทำอาหารให้สุก

ปิ้ง             หมายถึงการทำอาหารให้สุกด้วยไฟ เช่น .............................................

ย่าง           หมายถึงเอาของสดวางเหนือไฟ เช่น...................................................

ต้ม            หมายถึงเอาอาหารใส่ในน้ำที่ตั้งไฟจนเดือด เพื่อให้อาหารสุก เช่น

              .......................................................................................................

ลวก           หมายถึงเอาอาหารใส่ในน้ำที่ตั้งไฟจนเดือด สักครู่เพื่อให้สุกแต่กรอบ

              เช่น.................................................................................................

ตุ๋น          หมายถึงนึ่ง เคี่ยวให้เปื่อย เช่น ..........................................................

นึ่ง             หมายถึงทำอาหารให้สุกโดยไอน้ำร้อน เช่น .........................................

ทอด         หมายถึงเอาของใส่น้ำมันเดือด ๆ เพื่อให้สุก เช่น...................................

               คั่ว                         หมายถึงเอาของใส่กระทะ ตั้งไฟให้ร้อน คนไปมาจนสุก เช่น ................

                 หัน                   ..................................................................................................................

                       เจียว             ...................................................................................................................

                       ฉู่จี่                 ...................................................................................................................

                        หมก           ...................................................................................................................

ทำอย่างไร     ไก่หมกฟาง, ห่อหมก ,หมกเม็ด

 

                                แบบทดสอบ ๑

วิชาภาษาไทย ๑  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๔  ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำ

ชื่อ..................................................................ชั้น.๔/.....               เลขที่.......

ความหมายตรง

ก.      หมายถึงเคี่ยว  เช่น กินหมาก  กินหมากฝรั่ง

                          ก.    เคี่ยวกลืน     กินข้าว  กินขนม 

                  ก.    ดื่ม                  กินน้ำ  กินเหล้า กินกาแฟ 

ความหมายโดนปริยาย  (ตวามหมายทางอ้อม  การกล่าวอ้อมความผิดไปจากเดิม)

ความหมาย

คำ

ตัวอย่างคำที่ใช้

เปลือง

 

 

ทำให้สิ้นไปหรือหมดไป

 

 

รับเอาเพื่อแลกกับผลประโยชน์

 

 

หารายได้โดยไม่สุจริต

 

 

ชนะในการพนัน

 

 

เบียดบังเอาผลประโยชน์

 

 

อาการที่ล้ำไปทางขวาหรือซ้าย

 

 

ดีกว่ามาก

(ป.)ว

 

แต่งงาน

(ถิ่น)

 

หมายความไปถึง

 

 

ถือศิลไม่กินของคาว

 

 

รู้สีกแหนงใจ.สะดุดใจ,    กระทบใจ

 

 

ได้รับผลประโยชน์จากทุน

 

 

ชนะโดยง่าย

 

 

ผุเปื่อยขาดไปเอง

 

 

ได้ครองตำแหน่ง

 

 

กินอาหารอย่างดีนั่งโต้ะ

ถูกรุมทำร้าย

 

 

ล้ำเส้นทาง

 

 

เปลืองที่

 

 

ร้องให้ หรือเศร้าใจ

 

 

ได้ประโยชน์โดยไม่ต้องลงทุน

 

 

มีผัวกี่คนก็ตายหมด

 

 

ปกครองเมือง

 

 

เอาชนะไม่ได้

 

 

เอาเปรียบ

 

 

ต้านลม

 

 

สงสัย

 

 

ขาดทุน

 

 

คม

 

มีดฉันกินดี (มีดคม)

         สำนวน

สำนวน

ความหมาย

กินเกลือ กินกะปิ,กินดิน,กินแกลบ,กินหญ้า

 

กินที่ลับไขที่แจ้ง

 

กินน้ำใต้ศอก

 

กินน้ำพริกถ้วยเก่า

 

กินน้ำไม่เผื่อแล้ง

 

กินน้ำเห็นปลิง

 

กินบนเรือนขี้บนหลังคา

 

กินบ้านกินเมือง

 

กินบุญเก่า

 

กินปูนร้อนท้อง

 

กินรังแตน

 

กินลมกินแล้ง

 

กินเหมือนผีจุกอก

 

กินเหล็กไหล

 

กินอยู่กับปาก อยากอยู่กับท้อง

 

หมายเลขบันทึก: 431371เขียนเมื่อ 16 มีนาคม 2011 12:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 18:25 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

พอเข้าใจอยู่บ้าง

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท