เสียงพยัญชนะ


เสียงในภาษาไทย

ใบความรู้ที่ ๓

วิชาภาษาไทย ๑                                              ท๔๑๑๐๑                                 นายสมเกียรติ  คำแหง

ชื่อ.........................................................................................ชั้น ม.๔/......  เลขที่.........................

 

๒.๓  เสียงพยัญชนะ

 

ฐานที่เกิด

ลักษณะการเปล่งเสียง

ระเบิด

นาสิก

ข้างลิ้น

รัว

เสียดแทรก

ครึ่งสระ

ไม่มีลม

มีลม

ริมฝีปาก

 

 

 

ฟัน

ริมฝีปาก

 

 

 

 

 

 

ฟัน

ปุ่มเหงือก

 

ลิ้นส่วนหน้า

เพดานแข็ง

 

 

 

 

ลิ้นส่วนหน้า

เพดานอ่อน

 

 

 

 

เส้นเสียง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตำแหน่งของการออกเสียงพยัญชนะ

                เสียงพยัญชนะมีปรากฏ ๒ ตำแหน่ง

๑. ตำแหน่งต้นคำ ทุกเสียงเป็นพยัญชนะต้น

                รูปพยัญชนะต้น

                ๔๔  รูป   ตามเสียง

ก             ข                          ค                          ฆ             ง              จ              ฉ             ช             ซ             ฌ

ญ            ฎ             ฏ             ฐ             ฑ            ฒ            ณ            ด             ต             ถ             ท             ธ

น             บ             ป             ผ             ฝ             พ             ฟ             ภ             ม             ย              ร              ล

ว              ศ             ษ             ส             ห             ฬ             อ             ฮ

ปรากฏต้นเสียง ๒๑  เสียง

 

เสียง (๒๑)

รูปอักษร(๔๔)

ตัวอย่างคำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑.๒ เสียงพยัญชนะต้นควบกล้ำ ๒ เสียง

ควบ

ตัวอย่างคำ

กร

 

กล

 

กว

 

คร

 

คล

 

คว

 

ตร

 

ทร

 

ปร

 

ปล

 

พร

 

พล

 

บร

 

บล

คำต่างประเทศ

ฟร

 

ฟล

 

ดร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒. ตำแหน่งท้ายคำ มี ๘ เสียง

                เรียกว่า พัญชนะสะกด ตามตำราไทยแต่เดิม คือ แม่ กก  กง  เกย  กด  กน  กบ  กม  และ เกอว มี ๓๕  รูป

ที่

เสียงสะกด

จำนวน

รูป 

ตัวอย่างคำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑๖

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

พยัญชนะที่ไม่ใช้เป็นตัวสะกดมี  ๙  ตัว  คือ.....................................................................................

.........................................................................................................................................................

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ลักษณะที่ควรสังเกตเกี่ยวกับพยัญชนะ

๑. เสียงพยัญชนะบางเสียงเขียนแทนด้วยรูปหลายรูป

                ๑.๑ คำที่มาจากภาษาบาลี-สันสฤต เรานำมาแล้วออกเสียงไม่ตรงกับเสียงที่มีอยู่ในภาษาไทย เราจึงคิดรูปพยัญชนะเพิ่มขึ้น เพื่อเขียนคำที่มาจากภาษาบาลี-สันสฤต แต่ออกเสียงตามเสียงพยัญชนะไทย เราเรียกอักษรเดิม คือ ฆ  ฌ  ญ  ฏ  ฐ  ฑ  ฒ  ณ  ธ  ภ  ศ  ษ  ฬ  และเพิ่ม ฎ แทน ฏ เช่นคำว่า ชฏา ไทยใช้ ชฎา

                คำภาษาบาลี-สันสฤตที่เขียนตามภาษาเดิมแต่ออกเสียงพยัญชนะไทยที่มีอยู่แล้ว

 

รูปพยัญชนะ

ออกเสียงอย่างไทย

คำ

คำอ่านอย่างไทย

ข  ค  ฅ

มาฆะ

 

มัชฌิม

มัด – ชิม

ปัญญา

 

ชฎา

กุฏี

 

กุฏิ

 

เศรษฐี

 

ด  ท

มณฑป

มณฑา

บัณฑิต

 

วุฒิ

 

สกุณา

 

อิทธิ

 

ภาษา

 

องศา

 

ฤษี

 

จุฬา

 

 

 

 

 

 

 

 

๑.๒ พยัญชนะไทย มีอักษรคู่ คือ อักษรต่ำ มีคู่กับ อักษรสูง คือ อักษรต่ำพื้นเสียงสามัญ พอเสียงตรีจะไปตรงกับอักษรสูง

                คา           ค่า                                           ขา

                แช          แช่                                          แฉ

                ที             ที่                                             ถี

                พี่             _       _       _       ผี

                ฟัน         _       ฟั้น      _       ฝัน

                ซม          _       _       _       สม

                ฮาว         _       _       _       หาว

 

๒. รูปพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง

                ๒.๑ เป็นตัวการันต์ หรือ มีเครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับ

                        เช่น........................................................................................

                ๒.๒ ร  ห  ซึ่งนำหน้าพยัญชนะสะกด เช่น

                         สามารถ   อ่านว่า...................................................................

                         พรหม      อ่านว่า...................................................................

                ๒.๓ พยัญชนะตามหลังตัวสะกดในบางคำ

                         พุทธ        อ่านว่า...................................................................

                         สุภัทร      อ่านว่า...................................................................

                         พักตร      อ่านว่า...................................................................

                ๒.๔ ร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของควบแท้

                         จริง     โทรม

                ๒.๕ ห หรือ ย ซึ่งนำอักษรเดี่ยว

                         หลาย   อย่า

                ๒.๖ คำบางคำที่มีเสียงพยัญชนะแต่ไม่ปรากฏรูป ได้แก่ คำที่ประสมสระเกิน

                                อำ  ไอ  ใอ  เอา

                                ดำ           มีเสียง    ดอ  อะ  มอ

                                ทำไม      มีเสียง    ................................................................

                                ใจ            มีเสียง    ................................................................

                                เรา          มีเสียง    ................................................................

                แต่คำที่มีสระเกิน ฤ ฤา จะออกเสียง ร ไม่มีรูป

                เช่น        ฤกษ์        พฤกษ์    ฤาษี

หมายเลขบันทึก: 431373เขียนเมื่อ 16 มีนาคม 2011 12:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 18:45 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท