เสียงสระ


เสียงในภาษาไทย

๒.ภาษาไทยมีเสียงสระ

เสียงสระและรูปสระ

                เสียงสระเป็นเสียงที่เกิดจากกระแสลมจากปอดผ่านเส้นเสียงซึ่งเกร็งตัวสั่นสะปัด เสียงสระทั้งหมดเป็นเสียงก้อง (โฆษะ) ต่อจากนั้นกระแสลมผ่านออกมาจากปากโดยสะดวกไม่ถูกสกัดกั้น (เสียงแท้) อย่างเสียงพยัญชนะ (เสียงแปล)

                การที่เสียงสระแต่ละเสียงแตกต่างกันเพราะการออกจากปากจะถูกลิ้น และริมฝีปากกล่อมกลาในลักษณะที่ไม่เหมือนกัน

                รูปสระมี ๒๑ รูป คือ..............................................................................................................

............................................................................................................................................................

.......................................................................................................

                รูปสระ ๒๑ รูป แต่ละรูปไม่ได้แทนเสียงสระโดยตรงทุกรูป มีบางรูปเท่านั้นที่แทนเสียงสระหนึ่งสระได้โดยเฉพาะ เช่น

                                แ-            แทนเสียงสระ      แอ

                                                แทนเสียงสระ      อุ

                                โ-            แทนเสียงสระ      โอ

                เสียงสระส่วนมากใช้รูปสระหลายรูปประกอบกัน เช่น

                                เสียง       อี             ประกอบด้วย        _ (................)  กับ          _(................)

                                เสียง       อึ             ประกอบด้วย        _ (................)  กับ          _(................)

                                เสียง       อือ           ประกอบด้วย        _ (................)  กับ          _(................)

                                เสียง       เอะ         ประกอบด้วย        _ (................)  กับ          _(................)

                                เสียง       เออะ       ประกอบด้วย        _ (................)  กับ          _(................)  และ

                                                                                                                                                _(................)

                                เสียง       เอาะ       ประกอบด้วย        _ (................)  กับ          _(................)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รูปและเสียงสระรูปสระ

ที่

รูป

ชื่อ

ประสมรูปสระ

รูปเดียว

2

3

4

5

วิสรรชนีย์

 

 

 

 

 

-

ไม้หันอากาศ

 

 

 

 

 

 

ไม้ไต่คู้

 

 

 

 

 

ลากข้าง

 

 

 

 

 

 

พินทุอิ

 

 

 

 

 

 

ฝนทอง

 

 

 

 

 

 

นิคหิต

 

 

 

 

 

ฟันหนู

 

 

 

 

 

 

ตีนเหยียด

 

 

 

 

 

๑๐

 

ตีนคู้

 

 

 

 

 

๑๑

ไม้หน้า

 

 

 

 

 

๑๒

ใ-

ไม้ม้วน

 

 

 

 

 

๑๓

ไ-

ไม้มลาย

 

 

 

 

 

๑๔

โ-

ไม้โอ

 

 

 

 

 

๑๕

ตัว ออ

 

 

 

 

 

๑๖

ตัว ยอ

 

 

 

 

 

๑๗

ตัว วอ

 

 

 

 

 

๑๘

ตัว รึ

 

 

 

 

 

๑๙

ฤา

ตัว รือ

 

 

 

 

 

๒๐

ตัวลึ

 

 

 

 

 

๒๑

ฦา

ตัวลือ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สระมี ๓๒ เสียง

                ๑. เสียงเดี่ยว มี ๑๘ เสียง เสียงสั้น ๙ เสียง และเสียงยาว ๙ เสียง

ตำแหน่ง

รูป

เสียงสั้น

คำ

รูป

เสียงยาว

คำ

สระกลาง

 

 

 

 

สระหน้า

 

อิ

 

อี

 

 

สระกลาง

 

อึ

 

 

อือ

 

สระหลัง

 

อุ

 

 

อู

 

สระหน้า

เ-ะ

 

 

 

 

สระหน้า

แ-ะ

 

 

 

 

สระกลาง

 

เออะ

 

 

เออ

 

สระหลัง

 

โอะ

 

 

โอ

 

สระหลัง

เ-าะ

 

 

ออ

 

 

                รูปปาก สระหน้า      ~            สระกลาง <>        สระหลัง 0

                ๒. สระประสม มี ๖ เสียง แบ่งเป็น สระเสียงสั้น ๓ เสียง และเสียงยาว ๓ เสียง

สระเสียงสั้น

สระเสียงยาว

อิ   +   อะ   =   เอียะ

อี     +   อา   =   เอีย

อึ   +   อะ   =   เอือะ

อือ   +   อา   =   เอือ

อุ   +   อะ   =   อัวะ

อู     +   อา   =   อัว

                แต่เราถือว่าสระประสมมีเพียง ๓ เสียง คือ เอีย  เอือ  อัว  เพราะไม่ว่าเสียงสั้นหรือเสียงยาวก็มีความหมายหมือนเดิม เช่น..............................................................................................................

               

                ๓. สระเสียงเกิน มี ๘ เสียง

ที่

พยัญชนะต้น

เสียงสระ

พยัญชนะสะกด

เสียงวรรณยุกต์

เสียงสระ

อะ

สามัญ

อำ

๒-๓

ไอ

สามัญ

 

อะ

 

สามัญ

เอา

อึ

 

ตรี

 

อือ

 

 

ฤา

อึ

 

ตรี

 

 

สามัญ

ฦา

 

ข้อสังเกตรูปสระที่ใช้แทนเสียงสระ

๑. เสียงสระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป

                เสียงสระ  อะ  พยัญชนะ  ย

รูป

คำ

ไอ

ข้าไท  ไทย

ใอ

 

อัย

 

ไอย

 

 

๒. รูปสระบางรูปไม่ออกเสียง บางคำไม่มีรูป

รูป

ไม่ออกเสียง

ไม่มีรูป

อิ

ญาติ

อนุญาต

อิ

สัญชาติ

สันชาตญาณ

อุ

ดาวพระเกตุ

สังเกต

 

๓. คำที่ออกเสียงสระ  อะ  บางคำประวิสรรชนีย์

                - บางคำไม่ประวิสรรชนีย์

                                ทะลาย                                                                   ทลาย(พัง)

                                สะดม                                                                     สดมภ์

                - บางคำลดรูป (สระ  อะ)

                                อนุ          พนักงาน               ณธ

                - บางคำเปลี่ยนรูป

                                กัด           ขับ          รับ

                                รหัน       กรรณ     สรร        บรรลุ

 

๔. ลดรูปสระ  ออ  ในบางคำ

                                บ             บ่             จรลี         จร(จอน)                กร

 

๕. ลดรูปไม้หันอากาศในสระอัว เมื่อมีตัวสระ

                                ช่วง (ช่+อัว+งอ)                 ดวง         ร่วง

 

 

 

๖. เปลี่ยนรูปวิสัรรชนีย์ในสระเอะ และสระแอะ เป็นไม้ไต่คู้

                ด + เอะ + ก         เป็น        เด็ก

                ข + แอะ + ง        เป็น        แข็ง

 

๗. ลดรูปสระโอ๊ะ

                ค + โอะ + น        เป็น        คน

 

๘. เปลี่ยนรูปสระเอาะ โดยใช้  อ  กับ ไม้ไต่คู้แทน

                ล + เอาะ + ค       เป็น        ล็อค

                ก + อ                     เป็น        ก็

 

๙. เสียงสระบางเสียงใช้รูปสระต่างกัน สื่อความหมายต่างกัน

                เ-อ          เทอญ     เ-             เทิน

                                เทอม                      เทิ้ม

                                เคอย       เ-             เคย

                ใ-            ใน           ไ-            ไน

                                ใต้           ไ-            ไต้

หมายเลขบันทึก: 431372เขียนเมื่อ 16 มีนาคม 2011 12:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 21:51 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท