Title: Partnering with children and families along the trajectory of cancer care: An APN care model


การประชุมวิชาการร่วม: การประชุมวิชาการกรมการแพทย์ ประจำปี 2552 และการประชุมวิชาการโรคมะเร็งแห่งชาติ ครั้งที่ 10 .."ผสมผสานทีมมะเร็งอย่างสมดุลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า" 2-4 พย. 2552 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม.

Title: Partnering with children and families along the trajectory of

cancer care: An APN care model

 Author: Kesanee Boonyawatanangkool

 Institute: Srinagarind Care Management Center, Nursing division, Srinagarind Hospital.

Faculty of Medicine, Khon Kaen University, THAILAND 

 

Abstract 

Background:  Children with life-threatening illness, such as cancer, and their families experience multiple types of distress. These can range from the disease symptoms, procedures and treatments, to the psychological distress of living with a potentially terminal illness. Adding to this distress are the challenges inherent in providing holistic care throughout the illness trajectory for both in-patients and out-patients in urban and rural settings. An Advanced Practice Nursing (APN) care model is holistic family-centered approach aimed at meeting these care challenges. Here we report on the APN care model for pediatric cancer care at Srinagarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University, Thailand

Method: The APN care model started in August, 2004. The APNs within this model provide consistent care for children and families by being a member of the out-patient and in-patient care teams, as well as, conducting home visits. To date 407 children and families have been followed using this model of care. A review of theses cases was conducted to assess the benefits and process outcomes of the APN care model.

 Results: The direct clinical care provided includes psychosocial support, provision of non-pharmacological treatments, and child and patient education. All direct clinical activities are aimed at improved treatment adherence, informed patient participation in decision-making, improved coping, and decreased suffering and adverse events. Staff education, co-ordination of care, and patient advocacy among the multidisciplinary team, are APN activities that provide consistent care throughout the illness trajectory within and across the health center. Program development and funding has been obtained through consultation with NGOs. Of the 407 children and families, 305 are engaged in ongoing treatment with optimistic survival rates, 102 were diagnosed as terminal. Of the 102 terminally ill children 84 have died peacefully after receiving palliative care including bereavement care for families, 22 are receiving palliative care including home visits, and 18 are stable with access to APN care as needed.

Conclusion:  The APN care model has improved outcomes for children with cancer and their families through direct care, co-ordination of care, education of patient, families, and health professionals, consultation with stakeholders, such as NGOs, and leadership in program development. More information is available at http://gotoknow.org/blog/childcancercare  and  http://gotoknow.org/blog/endoflifechild

การประชุมวิชาการร่วม: การประชุมวิชาการกรมการแพทย์ ประจำปี 2552 และการประชุมวิชาการโรคมะเร็งแห่งชาติ ครั้งที่ 10 .."ผสมผสานทีมมะเร็งอย่างสมดุลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า" 2-4 พย. 2552 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กทม. โดยวิทยากรต้องส่ง abstract ภาษาอังกฤษเพื่อลงใน abstract book

 

หมายเลขบันทึก: 303280เขียนเมื่อ 4 ตุลาคม 2009 20:40 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 09:34 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

น้องเกด ว่าภาษาฝรั่งเลยหรือคะ แปลให้หน่อยดิ  ไม่แปลก็ได้ ไม่ใช่นักวิชาการแพทย์หมอมะเร็ง  คิดถึงแวะมาเยี่ยมคะ น้องเกดคนเก่ง  ไปหละคะ

น้องเกด ว่าภาษาฝรั่งเลยหรือคะ แปลให้หน่อยดิ  ไม่แปลก็ได้ ไม่ใช่นักวิชาการแพทย์หมอมะเร็ง  คิดถึงแวะมาเยี่ยมคะ น้องเกดคนเก่ง  ไปหละคะ

เหวย เหวย คิดถึงมาก เลยมีตั้งสองครั้ง เน็ทรวนอีกแล้วคะ ไปหละ

P

  • ขอบคุณค่ะ
  • อังกฤษล้วนๆ คุณพี่
  • ก็เป็นการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งและครอบครัว ต่อเนื่อง โดยการวางแผนดูแลต่อเนื่องเฉพาะราย ใช้รูปแบบเฉพาะ( APN care model ) ประสาน resources ทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ของเด็กและครอบครัวค่ะ
  • สั้นๆ ก่อนนะ

 

สวัสดีค่ะ

- รายละเอียด APN model เป็นอย่างไรบ้างค่ะ

  • ถ้ารายละเอียดอาจต้องแลกเปลี่ยนค่อนข้างยาวนะคะ
  • APN อาจจะเป็นเรื่องใหม่ของวิชาชีพการพยาบาลไทย
  • ส่วนตัวเองดูแลรับผิดชอบกลุ่มเด็กมะเร็ง
  • ก็ต้องพัฒนาการให้บริการสู่การบริการที่ดีที่สุดในบริบทของเรา โดยอาศัย APN 9 สมรรถนะ (ดูรายละเอียดใน Web สภา และส่วนตัวก็เขียนไว้ในบล็อคค่ะ)
  • APN ต้องวัด OUTCOME ทำวิจัย ใช้ EBP สร้างทีมงาน และต้องเป็น Co- ordinator of care ที่ไม่ก่อให้เกิด conflicts ใดๆ
  • ต้องมี Clinical leadership และที่สำคัญต้องทำ Direct care; teaching/educating, counseling, supporting, etc ในบริบทกลุ่มประชากรหรือผู้ป่วยที่ดูแล
  • มี Profile case ดูแลต่อเนื่องค่ะ ถึงจะรู้ข้อมูลคนไข้ และเชื่อมประสานการดูแลกับทีมได้
  • โดยสรุปจากบทคัดย่อ อาจพอมองเห็นภาพนะคะ

Conclusion:  The APN care model has improved outcomes for children with cancer and their families through direct care, co-ordination of care, education of patient, families, and health professionals, consultation with stakeholders, such as NGOs, and leadership in program development. More information is available at http://gotoknow.org/blog/childcancercare  and  http://gotoknow.org/blog/endoflifechild

และเพิ่มเติม slide ที่อาจมองภาพได้ชัดขึ้นค่ะ

Slide111

Slide211

ต้องสร้างทีมงาน เชื่อมประสานและทำงานได้กับทุกจุด คือสิ่งที่ APNs ควรทำ โดยยึดผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลางค่ะ

Slide311

APNs ต้องสามารถ direct care, co-ordinator of care..create งาน สร้าง guideline ช่วยเหลือน้องๆ staffs นักศึกษา โดยบทบาท educator and consultationใน field ตัวเองที่รับผิดชอบ

มี job ในการทำงานร่วมกับทีมที่ชัดเจนทุกคนรับทราบ

Slide411

Slide511

APN ต้องเป็นสมาชิกในการทำงานทั้งที่ OPD และ IPD เพราะเราดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง APN care management

แค่นี้ก่อนนะคะ ด้วยความปรารถนาดีค่ะ

 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท