การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์


ศักยภาพของมนุษย์เป็นสิ่งล้ำค่า ที่จะนำพาองค์การสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย

Talent Development, part of human resource development, is the process of changing an organization, its employees, its stakeholders, and groups of people within it, using planned and unplanned learning, in order to achieve and maintain a competitive advantage for the organization. Rothwell notes that the name may well be a term in search of a meaning, like so much in management, and suggests that it be thought of as selective attention paid to the top 10% of employees, either by potential or performance.[1][2]

While "Talent Development" is reserved for the top management it is becoming increasingly clear that "Career Development" is necessary for the retention of any employee, no matter what their level in the company. Research has shown that some type of career path is necessary for job satisfaction and hence job retention. Perhaps organizations need to include this area in their overview of employee satisfaction.

The term "Talent Development" is becoming increasingly popular in several organizations, as companies are now moving from the traditional term "Training and Development". Talent Development encompasses a variety of components such as training, career development, career management, and organizational development, and training and development. As we proceed through the 21st century more companies will begin to use more integrated terms such as "Talent Development"

Washington Group International, in their paper "The Nuclear Renaissance, A Life Cycle Perspective"[3] defined two logical laws of Talent Development:

  • First Law of Talent Development: "The beginnings of any technology-rich business are all characterized by a shortage of large numbers of technically trained people needed to support ultimate growth"
  • Second Law of Talent Development: "The resources will come when the business becomes attractive to the best-and brightest who adapt skills to become part of an exciting opportunity"

Talent Development refers to an organization's ability to align strategic training and career opportunities for employees.

[edit] References

1.             ^ William J. Rothwell and H. C. Kazanas (2004). The Strategic Development of Talent. Human Resource Development Press. pp. 4. ISBN 0874257522.

การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ ( Talent Development )

การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์    เป็นกระบวนการหนึ่งของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  เป็นการกระบวนการทีมีการเปลี่ยนแปลงโดยรวม ตั้งแต่องค์การ  พนักงาน หุ้นส่วน และกลุ่มคนในองค์การ  โดยมีการใช้แผนที่กำหนดไว้หรือไม่กำหนดก็ได้  ทั้งนี้เพื่อพยุงไว้ซึ่งโอกาสในการแข่งขันขององค์การ  โรธเวลได้กล่าวไว้ว่าชื่อที่ใช้เรียก (Talent Development ) อาจจะค้นหาความหมายได้โดยตัวเอง กล่าวคือการพัฒนาความสามารถพิเศษของมนุษย์ นั่นเอง  เป็นแนวคิดที่ใช้กับลูกจ้างไม่ว่าจะเป็นด้านขีดความสามารถหรือการแสดงออก

ในขณะที่ Talent Development ถูกจำกัดความให้เป็นสุดยอดของการบริหารจัดการ และกำลังจะกลายเป็นความเด่นชัดในการพัฒนาอาชีพ และเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องสงวนไว้เพื่อพัฒนาลูกจ้าง ไม่ว่าจะอยู่ในระดับใดขององค์การ การวิจัยได้แสดงให้เห็นว่าเส้นทางอาชีพบางอาชีพ ลูกจ้างจะมีระดับความพึงพอใจในด้านการงาน   อันนำไปสู่การพัฒนาองค์การ  การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของลูกจ้าง  บางครั้งองค์การ จะต้องเล็งเห็นถึงความสำคัญ และทบทวนมุมมองความพึงพอใจของลูกจ้างด้วย

คำว่าการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ ได้กลายเป็นความนิยมในหลายองค์การ ในขณะที่บริษัทต่าง ๆ กำลังเคลื่อนออกจาก คำที่ใช้แบบดั้งเดิม “ การอบรมและการพัฒนา”  แต่อย่างไรก็ตาม คำว่าการพัฒนาศักยภาพของคนยังเป็นคำที่ตีวงล้อมองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น การฝึกอบรม  การพัฒนาอาชีพ การบริหารจัดการด้านอาชีพ การพัฒนาองค์การ รวมถึงการฝึกอบรม   ในขณะนี้มีบริษัท และหน่วยงานหลายองค์การได้นำคำที่มีจากการบูรณาการต่าง ๆ มาใช้ในแวดวงของการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น การพัฒนาศักยภาพของมนุษย์  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ เป็นต้น

หนังสือพิมพ์ Washington Group  ในบทความ The Nuclear Renaissance , A Life Cycle Perspective”  ได้ให้คำจำกัดความของ การพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ไว้ 2 ประเด็น  ดังนี้

1.    การเริ่มต้นของธุรกิจที่มีความก้าวล้ำทางเทคโนโลยีมาก อาจจะเป็นการดำเนินงานที่ขาดแคลนมนุษย์ผู้มีศักยภาพ  ในการที่จะพยุงความเจริญเติบโขององค์การก็ได้

2.   ทรัพยากรจะเกิดประโยชน์ได้ ก็ต่อเมื่อการทำธุรกิจนั้นเป็นที่สนใจของบุคคลที่มีความฉลาดหลักแหลมและเป็นผู้ซึ่งนำทักษะมาประยุกต์ใช้  แล้วกลายเป็นส่วนหนึ่งของโอกาสที่น่าตื่นเต้น

    ^ William J. Rothwell (2005). Effective Succession Planning. AMACOM Div American Mgmt. pp. xviii. ISBN 0814408427    ^ http://www.gnr2.org/html/2007/4-19.pdf                              แปลโดย  (เอก)  รังสิมา  เปล่งรัตน์

 

หมายเลขบันทึก: 272480เขียนเมื่อ 1 กรกฎาคม 2009 13:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 13:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

พี่เอกค่ะอ่านบทความพี่แล้วเหมาะสมแล้วค่ะที่เอกอังกฤษ ยอดเยี่ยม ๆ

จะพยายามอ่านบทความของอาจารย์บ่อย ๆ นะ เผื่อว่าภาษาอังกฤษของตนเองจะพัฒนาขึ้น แต่ต้องขอชมว่าอาจารย์แปลได้ดี อ่านแล้วเข้าใจง่ายค่ะ

มาเยี่ยมชมผลงานครับ สมกับเป็นครูภาษาอังกฤษจริง ๆ

ขอบคุณที่ให้กำลังใจ จะสืบค้นเพื่อนำเสนอ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้อีกต่อไป

พี่เอกคะ ขอเรียนรู้ภาษาประกิตด้วยคนนะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท