ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.
นักเรียนสามารถบอกขั้นตอนในการเตรียมดินได้
2.
นักเรียนสามารถเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการปั้นตุ๊กตาดินเผาได้
3.
นักเรียนสามารถบอกขั้นตอนในการปั้นตุ๊กตาดินเผาได้
4.
นักเรียนสามารถบอกความสำคัญและประโยชน์ของทรัพยากรดินได้
โครงสร้างเนื้อหา
ประติมากรรมตุ๊กตาดินเผา
สาระ กอท.(งานประดิษฐ์) -
การเตรียมวัตถุดิบ ได้แก่
การเตรียมดิน,การเตรียมอุปกรณ์
- ขั้นตอนการผลิต ได้แก่ การขึ้นรูป,
การตกแต่ง,การตากแห้ง, การเผา
- ประโชน์ของเครื่องปั้นดินเผา
สาระวิทยาศาสตร์ (ทรัพยากรดิน) -
ความหมาย, ก่ารกำเนิด, ความสำคัญ, การปรับปรุง,ประโยชน์
การพัฒนาการด้านเชาวน์ปัญญา
พีอาเจต์
ให้ชื่อพัฒนาการของเด็กวัยรุ่นหรือวัยมัธยมศึกษาว่า “Formal
Operations” สามารถคิดได้แบบผู้ใหญ่
-
คิดในสิ่งที่เป็นนามธรรมได้
- มีความสนใจในปรัชญาชีวิต ศาสนา
อาชีพ
-
สามารถใช้เหตุผลเป็นหลักในการตัดสินใจ
-
สามารถคิดเหตุผลได้ทั้งอนุมานและอุปมาน
- จะมีหลักการ
เหตุผลของตนเองเกี่ยวกับความยุติธรรม
เสมอภาคและมนุษยธรรม
การสอนวัยรุ่นควรจะท้าทาย ให้รู้จักคิด เช่น
การแก้ปัญหาโดยใช้หลักวิทยาศาสตร์
การสอนความคิดรวบยอด
ทฤษฎีงานพัฒนาการ
ศาสตราจารย์โรเบิร์ต ฮาวิกเฮิร์ส (Robert
Havighurst,1953-1972)
ให้ความหมายว่า งานพัฒนาการ หมายถึง
งานที่มนุษย์ทุกคนจะต้องทำในแต่ละวัยของชีวิต
สัมฤทธิผลของงานพัฒนาการแต่ละวัย
มีความสำคัญมากเพราะเป็นรากฐานของการเรียนรู้งานพัฒนาขั้นต่อไป
-
สามารถที่จะแสดงบทบาททางสังคมได้เหมาะสมกับเพศของตน
-
เลือกและเตรียมตัวที่จะเลือกอาชีพในอนาคต
-
พัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญาและความคิดรวบยอดต่าง ๆ
ที่จำเป็นสำหรับสมาชิก
ของชุมชนที่มีสมรรถภาพ
-
มีความต้องการที่จะแสดงพฤติกรรมที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ลักษณะการนำเสนอเนื้อหา
สนิท สัตโยภาส (2536, หน้า
17)
แบ่งลักษณะการนำเสนอเนื้อหาตามเกณฑ์อายุของผู้เรียน ดังนี้
1.อายุ 0 - 3
ปี เป็นหนังสือภาพ
2.อายุ 3 - 6 ปี
ภาพประกอบคำสั้น ๆ
3.อายุ 6 - 11 ปี เรื่องประกอบภาพ
เนื้อหายากขึ้น
4.อายุ 11 - 14ปี
คำบรรยายมากกว่าภาพประกอบ
5.อายุ 14 - 18ปี คำบรรยายล้วน ๆ
มีภาพประกอบบางหน้า
หลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
หลักการออกแบบ
CAI มีหลากหลายแนวคิด
กลุ่มของข้าพเจ้าเลือกใช้หลักการออกแบบตามแนวคิดของโรเบิร์ต
กาเย่ (Robert Gangné) มี 9
ขั้นตอนได้แก่
1.เร่งเร้าความสนใจ 2.
บอกวัตถุประสงค์ 3. ทบทวนความรู้เดิม 4.
นำเสนอความรู้ใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ 6.
กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน 7.
ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่ 9. สรุปและนำไปใช้