VDO on Demand สื่อการเรียนการสอนยุค e-Learning


VDO on Demand,e-Learning

        ปัจจุบันการเรียนการสอนสามารถเข้าเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา และทุกสถานที่ทั่วโลก หากสถานที่นั้นสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ หลังจากเกิดการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก จากเดิมที่การสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตทำได้เพียงส่งข้อความถึงกันเท่านั้น ซึ่งก็ไม่เพียงพอกับความต้องการของมนุษย์ ผู้พัฒนาเทคโนโลยีหลายรายซึ่งเป็นมนุษย์จึงได้ทำการพัฒนาการส่งข้อมูลให้รวดเร็วมากขึ้น จนกระทั่งสามารถใช้งานมัลติมีเดียผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ดังในปัจจุบัน ในโลกแห่งสังคมไซเบอร์ มนุษยสามารถเลือกชองทางการสื่อสารไดหลากหลายช่องทาง อาทิเช่น การรับ-ส่งอีเมลล์ การรับชมทีวี การรับชมวีดีโอ การเรียน ฯลฯ  โดยไมมีขอบเขตจํากัดทั้งในเรื่องของเวลา สถานที่ ในการแสวงหาความรูขาวสาร และความบันเทิงที่มีใหเลือก และตักตวงไดอยางเสรี ผูที่มีความกระตือรือรน ใฝรู เสาะแสวงหาความรู และรูเทคโนโลยี ยอมไดเปรียบ และมีโอกาสที่จะครอบครองสารมากกวาใคร โดยเฉพาะสิ่งที่เปนความรู ขาวสารที่เปนประโยชนที่จะนําไปสูการพัฒนา ตนเอง ใหกาวหนา แต่สื่อในปจจุบันหาไดเปดเสรีอยางแทจริงไม ยังคงเปนเสรีภาพในขอบเขตจํากัด อาทิเชน รายการโทรทัศนที่มีใหเลือกชมไดมากมายหลากหลายสถานี ทั้งในยานความวีเอชเอฟ (VHF) และยูเอชเอฟ (UHF) ใชสายและไมใชสาย มีรายการหลากหลายใหเลือกดู หากไมชอบดูชองนี้ก็เปลี่ยนไปดูชองอื่นที่ประสงค การเลือกจึงอยูภายใตเงื่อนไขที่จํากัดวา สถานีเปนผูเลือกสาร (TV on Supply) ทําใหผูดูจําตองดูรายการที่อาจไมประสงคจะดู ทั้งนี้เปนเพราะไมมีทางเลือกอื่นที่ดีกวา นี้ หนทางสูการเลือกที่เสรีนั้นมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่กวางขวางขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาอยางรวดเร็วของเทคโนโลยี คอมพิวเตอรไดนําไปสูการเปดทางเลือกที่ดียิ่งขึ้น เปดโอกาสใหผูชมเลือกชมเลือกไดตามประสงค ในทางการศึกษาผูเรียนอาจ เลือกเรียนอยูที่บานหรือที่ไหน เวลาใด วิธีใดก็ได จะไมถูกบีบบังคับใหอยูในหองสี่เหลี่ยมที่มีนักเรียน นักศึกษาอยูเต็ม หอง เรียน สิ่งเดียวกัน ทําสิ่งเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน ปแลวปเลา อาจจะเรียกไดวานั้นคือ การศึกษาตามประสงค (Education on Demand) การจัดการศึกษาตามประสงคจะตองนําเทคโนโลยีเขามาชวยจัดจึงจะไดผลดี เทคโนโลยีหนึ่งซึ่งใชไดผล เทคโนโลยี หนึ่ง ซึ่งใชไดผลดี คือ คอมพิวเตอรและวีดิทัศน จากความสามารถในการจัดเก็บและสงขอมูลของระบบเครือขายคอมพิวเตอร ใหสามารถจัดเก็บ และสงขอมูลวีดิทัศนตามคํารองขอได ระบบการสื่อสารในรูปแบบนี้ เรียกวา วีดิทัศนตามประสงค (Video on Demand)
                ในทางการศึกษาไดมีการนําเอาระบบวีดิทัศนตามประสงคมาใชกับการศึกษาทางไกล( Long Distance Education) การบริการสื่อเพื่อการศึกษาดวยตนเอง ระบบวีดิทัศนตามประสงคนั้นจะตองจัดเก็บรวบรวมสาระความรูทางการศึกษา ไมวา จะเปนสาระความรูที่ซื้อมา หรือสถานศึกษาผลิตขึ้นเอง หรือถายทําจากการเรียนการสอนในชั้นเรียน ปกติ หรือจากระบบ การเรียนการสอนทางไกลทางโทรทัศน หรือระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม จะตองนําเก็บไวในระบบ การจัดเก็บวีดิทัศน (Video Server) หรือระบบการจัดเก็บขอมูล (File Server) ที่สมรรถนะในการเก็บวีดิทัศน และขอมูลจํานวนมาก แลวโอกาสใหผูเรียนเรียกศึกษาหาความรูไดดวยตนเองผานระบบสื่อสารอินเทอร์เน็ต เพื่อเปนการศึกษา หาความรูใหมสําหรับ ผูที่ยังไมเคยเรียนมากอนเลย หรือพลาดการเขาชั้นเรียนปกติในบางครั้ง หรือตองการทบทวนความรูที่เคยเรียนมาแลว แตยังไมเขาใจดีพอ ระบบนี้ยังใชไดดีสําหรับการใหความรูดวยวิธีการศึกษาดวยตนเอง 
        

นอกจากการนําเอาวีดีทัศน์ตามประสงค์มาใชทางการเรียนการสอนโดยตรงแลว ยังสามารถนํามาใช้กับระบบการฝก อบรมดวยตนเองอีกด้วย เรียกวา การฝกอบรมตามประสงค (Training on Demand) ซึ่งจะชวยใหองคกรตาง ๆ สามารถ พัฒนาศักยภาพของบุคลากร โดยนําสิ่งที่ไดอบรมแลวมาทบทวน หรือเปนการฝกอบรมดวยตนเอง โดยไมทําใหการทํางานตอง หยุดชะงัก ฝกอบรมที่ไหนเมื่อไรก็ได ในวงการธุรกิจการบริหารตาง ๆ ยังใชระบบสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลธุรกิจการบริหาร
การจัดการ ซึ่งสามารถเรียกใชไดตามประสงค
            วีดิทัศนตามประสงค มีการพัฒนามาจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ จากระบบอนาล็อก (Analog) มาเปนระบบ ดิจิตอล (Digital) ทําใหสามารถแปลงสัญญาณจากอนาล็อกใหเปนดิจิตอล ทําใหมนุษยมีขีดความสามารถในการสื่อสารกวาง ไกล อยางไมมีขอบเขต การแปลงสัญญาณจากอนาล็อกเปนดิจิตอล ดวยการบีบอัดสัญญาณ (Signal Compression) ใหมีขนาด
เล็ก ทําใหสามารถจัดเก็บ และสงสัญญาณใหเปนจํานวนมาก สัญญาณขอมูลเสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว จะสิ้นเปลืองหนวย ความจําในการจัดเก็บ และสงสัญญาณมากนอยแตกตางกัน โดยเฉพาะภาพเคลื่อนไหว จะใชหนวยความจํามากที่สุด สัญญาณ วีดิทัศนจึงตองใชเทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณ MPEG (Moving Picture Experts Group) ซึ่งเปนกลุมทํางานที่คิดคนวิธีบีบ อัดขอมูลภาพเคลื่อนไหว ซึ่งสามารถบีบอัดสัญญาณขอมูลไดในอัตราสวนตั้งแต 50:1 ถึง 200 : 1 ขึ้นอยูกับลักษณะขอมูล มีตั้งแต MPEG 1 - MPEG 4 MPAG- 1สําหรับใชกับการสงขอมูลในอัตราประมาณ 1.5 Mbps (Mbit / sec) หรือการจัดเก็บขอ มูลบนแผนซีดีรอม (CD-ROM) MPEG - 2 ใช้สําหรับการสงขอมูลความเร็วประมาณ 4-6 Mbpsหรือใชกับโทรทัศนระบบ HDTV (High Definition Television) หรือสงสัญญาณผานดาวเทียมดิจิตอล สวน MPEG -3 ไมมีการพัฒนาตอเนื่องจาก MPEG - 2ใหคุณภาพดีอยูแลว MPEG - 4 เปนมาตราฐานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ใชสําหรับการประชุมทางไกลผานจอภาพ (Video Conferencing) ในระดับการจัดสงขอมูลที่ต่ำมากเปนกิโลบิทตอวินาที (Kilobit / second) เปนการประชุมทางไกลผาน จอภาพแบบบนโตะ (Desktop Video Conferencing) หรือโทรศัพทแบบจอภาพ (Video Phone)
            การแปลงสัญญาณภาพเคลื่อนไหวไวในระบบดิจิตอลทําใหสามารถเรียกไปใชงานกับระบบคอมพิวเตอร และสามารถ ใชงานรวมกับโปรแกรมคอมพิวเตอรอื่นๆได การจัดเก็บขอมูลภาพเคลื่อนไหว จะเก็บไวในคลังจัดเก็บขอมูลวีดิทัศน (Video Server) ซึ่งสามารถจัดเก็บขอมูลได้มากมาย ตามขนาดของฮารดดิสคที่ใชบรรจุ ภาพเคลื่อนไหว ก็คือภาพนิ่งที่มีการเปลี่ยน แปลงอยางตอเนื่อง จนดูเหมือนการเคลื่อนไหวจริง ระบบโทรทัศนในประเทศไทยมีอัตราความเร็วในการเปลี่ยนภาพอยางตอ เนื่องประมาณ 25 ภาพ/วินาที ระบบคอมพิวเตอรที่จะมารองรับจะสามารถถายทอดขอมูลภาพ และเสียงใหไดสมบูรณที่สุด เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพระบบคลังจัดเก็บขอมูลวีดิทัศนก็ตองมีความเร็วในการอาน และสงขอมูลสูง เพื่อสงออกไปยังระบบเครือ ขายอินเทอร์เน็ต หรืออาจเปนคอมพิวเตอรของผูเรียน หรือหองเรียนทางไกล (Remote Classroom) ที่เรียกขอมูลเขามา ขอมูล จํานวนมหาศาลก็จะถูกสงไปในระบบเครือขายอินเทอร์เน็ตที่จุดหมายปลายทาง การสงขอมูลจะเปนแบบคอยๆ ทยอยสง ไปเรื่อยๆ (Streaming) ผูรับที่ปลายทางก็สามารถประมวลผลไดทันทีโดยไมตองรอสงขอมูลใหหมดเสียกอน
            สถานศึกษาที่มีระบบเครือขายคอมพิวเตอรก็อาจออกแบบระบบใหมีคลังขอมูลวีดิทัศน เพื่อใชบริการวีดิทัศนตาม ประสงคได แตสิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึง คือ ระบบทางดวนของขาวสารขอมูลใหผลดีควรเปนระบบ ATM (Asynchronous Transfer Mode) แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีระบบ ATM ได้เลือนหายไป ซึ่งสามารถนำระบบเครือข่ายแบบอีเทอร์เน็ตมาใช้งานได้ซึ่งจะทำให้งบประมาณด้านระบบเครือข่ายไม่สูงมากนัก
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 19032เขียนเมื่อ 14 มีนาคม 2006 19:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 14:33 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท