ความผิดปกติที่พบในการดู EKG แบบต่างๆ


การพยาบาลในการดูEKG

Atrium   ผิดปกติ  มีผลต่อ  P-Wave

 

Vevtricle    "          "        QRS-Wave

 

1.Atrium   Futter

 

        -มี  P-Wave  เหมือนฟันเลื่อย  2  ตัวติดกัน

 

        - QRS  แคบ

 

        - ระยะ  P-R interval  เท่ากัน

 

2. Atrium  Fibilation

 

        - P-Wave  ขยุกขยิกไม่ชัด/Atrium พลิ้ว

 

        - QRS  แคบไม่สม่ำเสมอ

 

        - ระยะ  P-R interval  ไม่เท่ากัน

 

3.Juntional  Contraction  (เกิดจาก  Atrium  ไม่เต้น/เต้นน้อยมาก)

 

        - ไม่มี  P-Wave

 

        -   มี  P-Wave  หัวกลับ

 

        - QRS  แคบ

 

        - ระยะ  P-R interval  เท่ากัน

 

   ผลกระทบของ Atrium  ผิดปกติ

 

        - เลือดไหลลง  Ventricle น้อย  ----------- เป็นลม  เหงื่อออก  ตัวเย็น

 

         - เลือดค้างจากการที่  Atrium  ไม่บีบตัว--------Bl  clot  หลุดไป  Aota  ต้องเข้า OR  ลาก  clot ออกมาเพราะ อันตรายมากหากไปสมอง

 

       Severe          stenosis            =         1          cms

 

       Moderate          ''                   =       1-2         cms

 

       Mide                 ''                   =       2-3        cms

 

       ปกติ                  ''                    =      4.5-5.5  cms

 

           * การที่ Atrium  เต้นมี  CO =  10-30%

 

การทำ  Cardio  Version

 

-NPO  เปิดเส้นให้  IV

 

-เตรียม Tube+ กระดานรอง  CPR

 

  • ต้องไม่มี Clot----- กลัว  Clot  ไปติดสมอง ต้อง Echo  แน่ใจว่าไม่มี  Clot

 

-กระตุ้นให้  Heart  เต้นดี ด้วย  50-100 J

 

  • การผิดปกติของ  Ventricle *

 

1.Idio  ventricular  Contraction

 

      -  Ventricle   เต้นเอง

 

      -  ไม่มี  P-Wave

 

      -  QRS  กว้าง  90 % ตัวเท่ากัน

 

      -  Rate ช้า

 

      -  ต้องจับ  Pulse  ก่อนอาจมี   Pulse/ NO   Pulse ----------  ต้อง  CPR

 

                    อาจ  Turn  เป็น   NO  Pulse -------ต้อง  CPR ---- on  pacing

 

       -จับ  Pulse  ได้คล้ายผู้ป่วยก่อนตาย- low  CO  Hypo  Volemic  shock ต้องให้ Volum ก่อน

 

       - จับ  Pulse  ไม่ได้ ------PEA  No  pulse  แต่มี  E.K.G.  ------CPR  No  Defib

 

2.Ventricular  Trachycardia

 

        -No  P-Wave

 

        -QRS  กว้าง

 

        - Rate   เร็ว> 120/min

 

         -No  PVC

 

         -จับ  Pulse  ได้ต้อง  Cardio  Version

 

         -จับ  Pulse  ไม่ได้------- Defib------Synconise= 50 J

 

3.Venticular Fibilation

 

          - No  P-Wave

 

           - QRS  กว้าง

 

           - ตัวไม่เท่ากัน ใหญ่บ้าง  เล็กบ้าง

 

           -จับ Pulse  ไม่ได้

 

           - ต้อง  Defib  ทันที

 

*Fine  V.F.  ตัวละเอียด

 

*Very  Fine  V.F.  ตัวละเอียดมากๆ

 

*Cose  V.F.  ตัวโตไม่เท่ากัน/ค่อยๆโตและค่อยๆเล็กสลับกันตลอด

 

4.Torsode  der  point

 

      - มี  V.F.+ V.T.  ร่วมกัน

 

      -ต้อง  Defib  ถ้าไม่ขึ้นต้องให้  MgSo4 เสมอ

 

                                             เด็ก =  10 mg/kg  Adult  = 1-2  gm

 

5.Asystole

 

          - ต้อง  Test  pulse  ทุกครั้งที่  Carotid

 

          - No  E.K.G.

 

  • Heart  Block------- เกิดจากความผิดปกติของ  Pass-way  ของการส่งกระแสไฟฟ้

 

                              ของ Heartเอง  

 

1).   1  AV  Block

 

     -P-Wave  จะห่างจาก  QRS  มาก แต่เท่ากันทุกตัว

 

     - P-Wave  ปกติ  +QRS ปกติ/แคบ

 

     - P-R  interval  เท่ากันแต่ห่างกว่าปกติ/ยาวกว่า 5 ช่องเล็ก

 

    -  ไม่ตองรักษา-------ให้  Artopine

 

2).   2  AV  Block

 

    Type   1  - ปกติค่อยๆห่าง  แล้วหายไป แล้วกลับมาดีปกติ

 

                  - No  QRS  ตัวที่ค่อยๆห่างมีแต่  P-Wave

 

                  -  ไม่ต้องทำอะไรนอกจากให้ยา  Artopine

 

                  - P-R interval  ค่อยๆห่าง  No  QRS

 

     Type  2  - ต้อง  on  pacing

 

                  -  ปกติแล้วหยุดทันทีต้อง  Defib  กลัว  bl  ไม่ไปเลี้ยง

 

         มีแต่  P-Wave  QRS  หายไป--------แล้วกลับมาดูดีปกติเดิม

 

3).    3  AV  Block

 

                 -  Atrium  เต้นมากกว่า  Ventricle  คือมี  P-Wave  มากกว่า  QRS  ตลอด

 

                 -  ต่างคนต่างเต้น

 

                 -  QRS  กว้างแต่ระยะห่างของ  QRS  เท่ากัน

 

                 -  ผู้ป่วยเป็นลมต้อง  no pacing

Complex  ของ  Ventricle

1). PVC ----- QRS  ตัวโต

    1.  Unifocal  PVC

- มี  QRS  1ตัว  / 1 แบบ

-มีจุดกำเนิด  PVC  เหมือนกัน

     2. Mutifocal   PVC

- มีจุดกำเนิด  PVC  2  ตัว

-  BP  อาจ drop  ได้/ low CO ทันที

- มี PVC 2 รูปแบบ อาจมีหัวกลับ หัวแตก

      3. Couplet  PVC

-  มี PVC  มาคู่ๆ

       4. Bijimini

- มี  PVC  1 ตัว NSR 1 ตัว สลับกันมาตลอด

2).PAC

- Atrium เต้นผิดปกติ

- P-Wave  มาก่อน  QRS

-ตัวต่อมาเต้นช้าเพื่อให้  P-R interval ตัวต่อไปเท่ากัน

3).PJC

-No  P-Wave

E.K.G. ที่ต้อง  Defib

1.VT  ที่ต้องไม่มี Pulse  ถ้ามี  Pulse  อาจทำ  Cardio  version

2.V Fibilation

3.Torsad  der point  ถ้า Defib  แล้วไม่ดีต้องให้  MgSo4

E.K.G.  ที่ต้อง on pacing

1.  2 AV  Type  2

2.  3 AV

3.   Aystole

*วิธี  on pacing

1.ติด  patch

2.ตั้ง  CO  สูงสุด

3. ตั้ง Rate 

4. on เครื่อง

5.ลด  CO เพื่อเลือก  Trachold

6. เพิ่ม out  put  10%  ของ  Trac-hold

*การ  Detex  ผู้ป่วยก่อนทำ  ACLS

1.  การเข้าหาผู้ป่วยได้เร็ว

2.CPR+ เป่าปาก

3.Eealy  Defib  ประมาณ  90  วินาที

Angina  Pectoris  -------- เจ็บหน้าอก

- อาจเกิดจากการทำงาน

- นั่งพัก ประมาณ  5 นาที  หายปวด

2.Acute  MI --------หลอดเลือดหัวใจตัน

-ให้ MO , NTG ,Aspirin , O2 ,(MO NA O2)

-เจ็บหน้าอกพักไม่หาย

-ให้  O2+ IV

- E.K.G.  12  lead  ถ้าไม่มี  ST- evevate  ต้อง สวนหัวใจ  PTCA

Stork

-         ยืนยกมือ 2 ข้าง  ไม่เท่ากัน

-         -พูดจาสับสน

-         ยิ้ม  ยิงฟัน ----- แต่ปากเบี้ยว

การรักษา
      - CT  ดูว่าลิ่ม  Bl  หรือไม่ ถ้ามีในสมองต้องรีบเอาออกห้ามให้ยาขยายหลอดเลือด

 

หมายเลขบันทึก: 16375เขียนเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2006 12:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:04 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (11)

555  แวะมาดูค่ะ 

แล้วรู้ตัวว่า...โห...เราลืมไปหมดแล้วหรือเนี่ย... ( เมื่อก่อนพี่จะภาคภูมิใจว่า...เราเจ๋งเป้งเรื่องนี้มั่กมากอ่ะค่า )

เนื้อหาน่าอ่านมาก.....วันหน้าจะแวะมาดูอีกนะ..

ต้องการรบกวนถามดังนี้คะ

เมื่อวันที่ 16 ส.ค.2552

ดิฉันมีอายุ55ปี สูง 157 ซม. หนัก 48-49 กก.ไปตรวจสุขภาพมาที่ไรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง(ทดลองเปลี่ยนโรงพยาบาลค่ะ)เป็นโรงพยาบาลเน้นเรื่องโรคหัวใจ) คุณหมอพบว่าตรวจEKG แล้วผิดปกติ คือ poor R waveเล้นกราฟกลับหัว คุณหมอว่าเป็น infraction

แต่ชีพจร= 80, LDL=140,HDL=57 ผลเลือดปกติ TSH 0.7 (ปกติ) ออกกำลังกายบ้างแต่ไม่หนัก มีแอโรบิกเบาๆ โยคะบ้าง เดินบนลู่วิ่ง

มา4 ปีกว่า ช่วงหลังรู้สึกขี้เกียจออกกำลังกาย เบื่อ เพราะสถานที่ช่อนแชมบ่อย มีฝุ่นมาก แต่ตั้งแต่ต้นเดือนหยุดไปเนื่องจากมีภารกิจ อาการเจ็บหน้าอกมีบ้างเมื่อคิดมาก

คุณหมอให้รับประทานยา Aspirin 81 mg. (นัดตรวจอีก 1 เดือน)

คุณหมอดูท่าทาง วิตกกังวลมาก บอกว่าอันตรายมาก

แต่หลายปีมาแล้วประมาณมากกว่า 5ปี ตรวจที่โรงพยาบาลอื่นก็พบอย่างนี้ หมอแผนกหัวใจก็ให้เดินสายพานแวหมอไม่ได้ว่าอะไร ก็ตรวจสุขภาพที่นี่มาตลอด หมอว่าไม่เป็นอะไรเพราะไม่มีปัจจัยเสี่ยง(แต่เป็นหมออายุรกรรม)

ดิฉันรบกวนขอคามคิดเห็นค่ะ

ขอบคุณค่ะ

ดีมากค่ะ่อ่านเข้าใจดี กำลังจะสอบพอดี

น่าอ่านและเข้าใจงายค่ะแต่มีข้อสงสัยค่ะไม่แน่ใจว่าพิมพ์ผิดหรือดิฉันเข้าใจผิดคือหัวข้อV.tach ถ้าคลำชีพจรไม่ได้ใdefib ด้วยmode  synchronize หรือAsynchronize คะ อีกหัวข้อหนึ่งคือcomplete  heart  block เป็นลม no  pacing  หรือ on pacingคะ ด้วยความนับถือ

เป็นข้อมูลที่ให้ความรู้มากคะ ชอบมาก

ดีมากเข้าใจง่าย

ตอนที่เริ่มเรียนนะงง พอตอนนี้อะชิวๆๆไปแล้ว เพราะเราคือชาว cardio

ข้าน้อยขอคาราวะ อะ

ขอบคุณสำหรับความรู้ติดตัวก่อนไปฝึกงานนะครับ ^^

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท