บทสัมภาษณ์ประธานาธิบดีฌาร์ก ชีรัก แห่งสาธารณรัฐ ในการเยือนประเทศไทย


Interview

 

Interview du Président de la République M. Jacques Chirac, au quotidien Thaï The Nation

บทสัมภาษณ์ประธานาธิบดีฌาร์ก ชีรัก แห่งสาธารณรัฐ ในการเยือนประเทศไทย

(เลือกแปลเฉพาะหัวข้อที่สนใจ)

QUESTION - Etes-vous satisfait du niveau actuel de la coopération entre la France et la Thaïlande, qui a plus de 300 ans ? Est-ce que le plan d’action franco-thaïlandais signé en 2004 a permis d’accélérer cette coopération bilatérale ?

LE PRESIDENT - Je suis très confiant dans l'avenir de nos relations. Trois cents ans d'amitié ont créé une base solide sur laquelle il ne tient qu'à nous de construire. Nous avons adopté, avec le Premier Ministre, M. Thaksin Shinawatra, un plan d’action bilatéral en 2003. Ses objectifs sont d'ores et déjà atteints dans tous les domaines. Nous pouvons donc maintenant aller plus loin.

Nos relations politiques ont pris leur essor. J'ai reçu le Premier ministre en France à deux reprises depuis 2003. Nous nous sommes rencontrés à l'occasion des Sommets de l'ASEM. Votre pays sait qu'il peut compter sur l'appui de la France, comme ce fut le cas pour l'accès de la crevette thaïlandaise au marché européen, dossier sur lequel j'ai été en contact direct avec le Premier ministre.
Nos échanges culturels et humains connaissent des développements prometteurs. La Thaïlande et la France ont tissé un réseau exceptionnel de coopérations scientifiques et techniques qui se développe très rapidement
.

คำถาม : ท่านพึงพอใจเช่นไรกับการร่วมมืออย่างจริงจังของฝรั่งเศสกับไทย ในรอบ 300 ปี แผนปฏิบัติการที่ลงนามเมื่อปี 2004 ส่งผลให้เกิดความร่วมทั้งสองฝ่ายระหว่างไทยกับฝรั่งเศสอย่างจริงจังใช่ไหม

คำตอบ : ข้าพเจ้ายินดีในสัมพันธภาพที่มี กว่า 300ปีที่มีการติดต่อกันเป็นฐานความสัมพันธที่แข็งแกร่งของทั้งสองประเทศและได้แนบแน่นขึ้นเมื่อนายกทักษิณได้ลงนามในแผนปฏิบัติการเมื่อปี 2003 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการร่วมมือและก้าวไปข้างหน้าด้วยกัน

ความสัมพันธ์ทางการเมืองของทั้งสองประเทศ เกิดขึ้นเมื่อข้าพเจ้าได้พบนายกทักษิณ 2 ครั้งที่ฝรั่งเศสในปี 2003 และพบกันอีกในการประชุม ASEM ประเทศของเราทั้งสองได้มีการติดต่อระหว่างกันอย่างราบรื่น มีการแลกเปลี่ยนทำความรู้จักกันของประชาชนและวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้น มีการร่วมมือกันทางวิทยาศาสตร์และทางเทคนิคอย่างมากเช่นกัน


QUESTION – Pour vous la Thaïlande est-elle au cœur de la politique de la France en Asie du sud-est ?

LE PRESIDENT – Oui, sans aucun doute. La Thaïlande a une vocation naturelle, compte tenu de son poids politique et de sa situation géographique, à être un élément essentiel d’une stratégie politique de l’Europe, en général, et de la France, en particulier, en direction de l’Asie.

Vous savez, nos liens politiques sont anciens. Nous célébrons cette année le 320ème anniversaire de la célèbre ambassade du Siam à la Cour de Versailles et le 150ème anniversaire du premier traité d'amitié franco-thaïlandais voulu par Sa Majesté le Roi Rama IV et par Napoléon III.

คำถาม :ประเทศไทยถือเป็นจุดสนใจทางการเมืองระหว่างประเทศของฝรั่งเศสที่มีต่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช่ไหม

คำตอบ :ใช่ ประเทศไทยมีธรรมชาติที่ดี มีพลังทางการเมือง และที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ดี และเป็นส่วนหนึ่งของแผนยุทธศาสตร์ทางการเมืองที่สำคัญของยุโรป และสำหรับฝรั่งเศสเช่นกัน ที่มีต่อเอเชีย

คุณคงทราบว่าเรามีการติดต่อกันทางการเมืองมาแต่โบราณ เรามีการเฉลมฉลองความสัมพันธ์ 320 ปี ระหว่างสยามและแวร์ซายส์ และรอบ 150 ปี ระหว่างรัชการที่ 5 กับ พระเจ้านโปเลียนที่ 3

QUESTION – Vous souhaitez renforcer la coopération entre la Thaïlande et la France sur le plan économique, sur le plan sécuritaire aussi ?

LE PRESIDENT – Sur le plan économique, nos relations sont bonnes et elles sont susceptibles de se développer beaucoup, notamment en raison du progrès économique de la Thaïlande et de ses grands projets. Je souhaite donner une impulsion à ce développement.

Sur le plan de la sécurité, nous souhaitons également renforcer nos liens avec la Thaïlande. C’est l’un des sujets que nous discuterons avec le Premier ministre. Je crois qu’il est tout à fait légitime et naturel que nous renforcions nos liens en la matière. D’ailleurs, ces liens sont anciens : le Roi Rama VII n’était-il pas l’un des compagnons du général de Gaulle à l’Ecole de guerre ?

คำถาม :ท่านพอใจต่อแผนความร่วมมือทางเศรษฐกิจและทางด้านความมั่นคงระหว่างไทยกับฝรั่งเศสไหม

คำตอบ :ด้วยแผนทางเศรษฐกิจ ความสัมพันํธ์ของเราดียิ่งขึ้น มีการพัฒนาร่วมกันอย่างมาก โดยเฉพาะโครงการขนาดใหญ่ (Mega project) ข้าพเจ้าหวังอย่างยิ่งว่าจะมีการพัฒนาร่วมกันยิ่งขึ้น

และด้วยแผนความมั่นคง เรามีความร่วมมือกัน และเป็นประเด็นหนึ่งที่ได้มีการพูดคุยกันกับนายกทักษิณเช่นกัน ข้าพเจ้าคิดว่าเราจะมีความร่วมมือกันอย่างถูกต้องตามกฎหมายในการที่จะช่วยเหลือกัน ดังเช่นที่ รัชกาลที่ 7 ทรงมีให้กับนายพล เดอโกล ในสมัยที่เรียนที่โรงเรียนนายทหาร

QUESTION – Comment la France et la Thaïlande, en tant que membres de l’ASEM, peuvent-elles travailler ensemble ?

LE PRESIDENT - Depuis le Sommet de Bangkok en 1996, les sommets de l’ASEM sont l’occasion d’échanges approfondis sur les principales questions politique et de sécurité, de la lutte contre la prolifération des armes de destruction massive à la réforme des Nations-Unies. Nos deux pays y veillent. La Thaïlande et la France, par la proximité de leurs sensibilités, sont en contact régulier pour alimenter la réflexion de nos partenaires européens et asiatiques.

Au cours de ce déplacement, je consulterai la Thaïlande sur l'idée d'associer davantage M. Javier Solana, notre Haut représentant pour la politique européenne et de sécurité commune, à nos travaux afin de renforcer les liens institutionnels entre l'Union européenne et l'ASEM. Je sais que du côté thaïlandais, on réfléchit aussi au moyen de dynamiser les travaux de cette instance. J'attends beaucoup de ces échanges pour renforcer encore les relations entre l'Asie et l'Europe.

คำถาม :ฝรั่งเศสคิดกับไทยอย่างไรในฐานะที่เป็นสมาชิก ASEM และมีการร่วมมือกัน

คำตอบ :ในการประชุมซัมมิตที่กรุงเทพในปี 1996 (พ.ศ.2539) ได้มีการแลกเปลี่ยนแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศ และด้านความมั่นคง ลดการทำลายล้างกันทางทหารตามแนวทางของสหประชาชาติ  ระหว่างประเทศของเราทั้งสองนั้นได้มีการร่วมมือกันอย่างดี ตามระดับภาคีของระหว่างยุโรปและเอเชีย

ในการนี้ ข้าพเจ้าได้รับการปรึกษาจากที่ปรึกษาคือ M. Javier Solana ตัวแทนด้านการเมืองระหว่างประเทศและความมั่นคง ในการให้ความสำคัญกับประเทศไทยที่จะทำงานร่วมกันเพื่อความเป็นสถาบันระหว่างสหภาพยุโรปกับกลุ่ม ASEM ข้าพเจ้าทราบว่าทางฝ่ายประเทศไทยได้มีการตระหนักในระดับปานกลางที่จะทำงานร่วมกัน ข้าพเจ้ารอการเปลี่ยนแปลงในทางร่วมมือกันที่มากขึ้นของเอเชียและยุโรป

 

จากบทสัมภาษณ์นี้จะเห็นได้ว่าการมาเยือนไทยในครั้งนี้ มีการใช้เป็นวาระเพื่อความร่วมมือกันของไทยกับฝรั่งเศสเพื่อความสัมพันธ์ที่แนบแน่นขึ้นกับอีกฝ่าย ไทยต้องการติดต่อกับ EU มากขึ้น และฝรั่งเศสก็ต้องการเข้ามามีส่วนในภูมิภาคนี้มากขึ้น เป็นการเมืองระหว่างประเทศที่ดีร่วมกันทั้งสองฝ่าย

 

เนื่องในวโรกาศครองราชย์ครบ 60 ปี เป็นโอกาสดีของไทยที่จะมีสัมพันธภาพที่แนบแน่นกับประเทศต่างๆ มากกว่าแต่เดิม แต่ทั้งนี้ก็อยู่ที่ภาวะของไทยเราเอง ถ้าสามัคคีกันดังพระบรมราโชวาท เชื่อว่าทุกสิ่งย่อมเป็นไปได้

 

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 15851เขียนเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2006 20:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 มิถุนายน 2012 07:49 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท