อัตราค่าธรรมเนียม


การท่าเรือแห่งประเทศไทย
ท่าเทียบเรือเอนกประสงค์
ส่วนที่ 1
ค่าธรรมเนียมเรียกเก็บจากเจ้าของเรือหรือตัวแทนเจ้าของเรือหรือผู้ขออนุญาต

ลำดับที่
 
101
ค่าธรรมเนียมเรือเข้าท่า (PORT DUES)
เป็นค่าใช้ร่องน้ำ เครื่องหมายการเดินเรือและสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อความปลอดภัยในการเดินเรือเข้า-ออก อาณาบริเวณท่าเรือ รวมทั้งค่าบริการในการผูกและปลดเชือกเรือที่เข้าและออกจากท่าเรือ ของเรือที่มีขนาดตั้งแต่ 700 GT ขึ้นไป เรียกเก็บเฉพาะเที่ยวขาเข้า ในอัตราดังนี้

   
บาท/GT
101.1 เรือที่มีขนาด 700 – 1,500 GT
3
101.2 เรือที่มีขนาดเกิน 1,500 GT
6

เรือสินค้า เรือโดยสาร เรือน้ำมัน หรือเรืออื่น ที่เข้าจอดในรอบปีเกินกว่า 6 เที่ยว เรียกเก็บค่าธรรมเนียมเรือเข้าท่าเที่ยวถัดไป ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราที่กำหนดข้างต้น
เรือราชการไทย เรือรบต่างประเทศ ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมรายการนี้

102
ค่าธรรมเนียมการใช้ท่าของเรือ (BERTH FEE)

เป็นค่าใช้ท่าเทียบเรือ ในการจอดเรือสินค้า เรือโดยสาร หรือเรืออื่น ๆ และค่าบริการทำความสะอาด หน้าท่าเทียบเรือ เรียกเก็บในอัตราดังนี้

   
บาท/100 GT/ ชั่วโมง
101.1 เรือสินค้า หรือเรือตู้สินค้า หรือเรือโดยสาร
8
101.2 เรือประมง ขนาดไม่เกิน 500 GT
4
101.3 เรือประมง ขนาดเกิน 500 GT ขึ้นไป
6
  ค่าธรรมเนียมการใช้ท่าของเรือต่ำสุด บาท/เที่ยว
บาท/เที่ยว
101.4 เรือสินค้า หรือเรือตู้สินค้า หรือเรือโดยสาร
300
101.5 เรือประมง ขนาดไม่เกิน 500 GT
200
101.6 เรือประมง ขนาดเกิน 500 GT ขึ้นไป
250
103 ค่าธรรมเนียมผู้โดยสารผ่านท่า (PASSENGER FEE) เป็นค่าธรรมเนียมผู้โดยสารที่ขึ้นหรือลงเรือ ณ ท่าเทียบเรือ เรียกเก็บในอัตรา 30 บาท/คน/เที่ยว

ท่าเทียบเรือเอนกประสงค์

ส่วนที่ 2

ค่าธรรมเนียมเรียกเก็บจากผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออกหรือผู้ขออนุญาต



ลำดับที่
 
201
ค่าธรรมเนียมการใช้ท่าสำหรับการบรรทุกหรือขนถ่ายสินค้า (CARGO LOADING OR DISCHARGING FEE)

เป็นค่าใช้ท่าเทียบเรือ ค่าควบคุมและเครื่องมือทุ่นแรง ในการขนถ่ายสินค้าขาเข้าขึ้นจากเรือก่อนส่งมอบโดยตรง หรือเคลื่อนย้ายสินค้านั้น ไปยังที่เก็บสินค้าเพื่อรอส่งมอบต่อไป หรือปฏิบัติในทางกลับกันสำหรับสินค้าขาออก เพื่อบรรทุกลงเรือ เรียกเก็บในอัตราดังนี้
201.1
สินค้าขาเข้าและขาออก
บาท/ตัน
 
201.1.1   ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
30
 
201.1.2   ใช้เครื่องมือของเอกชน
15
201.2
ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนขึ้น/ลงเรือเอง
 
 
201.2.1 รถยนต์
350
 
201.2.2 รถจักรยานยนต์
100

202
ค่าธรรมเนียมการส่งมอบหรือรับมอบสินค้า (CARGO DELIVERING OR  RECEIVING FEE)
      เป็นค่าส่งมอบสินค้าขาเข้าหรือรับมอบสินค้าขาออกโดยตรง  หรือเป็นค่าเคลื่อนย้ายสินค้าขาเข้าที่ขนถ่ายจากเรือ ไปยังที่เก็บสินค้า  และส่งมอบสินค้าขาเข้านั้น หรือสินค้าจากตู้สินค้าLCLให้แก่ผู้นำเข้า ณ ที่เก็บสินค้า หรือเป็นค่าใช้ท่าในการยกขนสินค้าขาออกที่นำผ่านท่าเข้าเขตท่าเรือจนถึงที่เก็บสินค้า และเคลื่อนย้ายไปหน้าท่าเพื่อรอบรรทุกลงเรือ   หรือบรรจุเข้าตู้สินค้า LCL  เรียกเก็บในอัตราดังนี้   
202.1
ส่งมอบ/รับมอบโดยตรง
บาท/ตัน
 
202.1.1 ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
20
 
202.1.2 ใช้เครื่องมือของเอกชน
10
202.2
ส่งมอบ/รับมอบ ณ ที่เก็บสินค้า
 
 
202.2.1 ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
40
 
202.2.2 ใช้เครื่องมือของเอกชน
25

203
ค่าธรรมเนียมฝากสินค้า (CARGO STORAGE FEE)

      เป็นค่าฝากเก็บสินค้าขาเข้าที่ขนถ่ายขึ้นจากเรือ และมิได้นำออกนอกเขตท่าเรือ หรือสินค้าขาออกที่นำเข้าเขตท่าเรือ เพื่อรอบรรทุกลงเรือ หรือบรรจุเข้าตู้สินค้า LCL โดยได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากสินค้า ดังนี้

203.1 สินค้าขาเข้า
      - สินค้าทั่วไปได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากสินค้า 3 วัน นับถัดจากวันเสร็จสิ้นการขนถ่ายของเรือ
      - สินค้าอันตราย ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากสินค้า 1 วัน นับถัดจากวันเสร็จสิ้นการขนถ่ายของสินค้ารายนั้น ๆ
      - สำหรับสินค้าจากตู้สินค้า LCL เรียกเก็บนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ทำการเปิดตู้สินค้า จนถึงวันนำออกนอกเขตท่าเรือ เว้นแต่ยังอยู่ในระยะเวลาได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากตู้สินค้า LCL ขาเข้า ลำดับที่ 304.1 เมื่อพ้นระยะเวลาที่ได้รับสิทธิดังกล่าว จะเรียกเก็บเป็นรายวัน ในอัตราดังนี้
 
 
บาท/ตัน/วัน
 
203.1.1 สินค้าทั่วไป
15
 
203.1.2 สินค้าอันตราย
30
203.2 สินค้าขาออก
     203.2.1 ภายในสัปดาห์แรกได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากสินค้า 3 วัน นับถัดจากวันนำผ่านท่าเข้าเขตท่าเรือ เรียกเก็บในอัตรา 15 บาท/ตัน
     203.2.2 สัปดาห์ที่ 2 เรียกเก็บเป็นรายวัน ในอัตรา   5   บาท/ตัน/วัน
     203.2.3 ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 3 เรียกเก็บเป็นรายวัน ในอัตรา   10   บาท/ตัน/วัน

ท่าเทียบเรือเอนกประสงค์

ส่วนที่ 3

ค่าธรรมเนียมตู้สินค้าเรียกเก็บจากเจ้าของเรือหรือผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออกหรือผู้ขออนุญาต



ลำดับที่
 
301
ค่าธรรมเนียมยกตู้สินค้าขึ้นหรือลงเรือ (CONTAINER LIFTING FEE)
เป็นค่าใช้ปั้นจั่นของท่าเรือหรือปั้นจั่นของเรือ หรือ เอกชน ในการยกตู้สินค้าที่ขนถ่ายจากเรือหรือบรรทุก
ลงเรือ ณ ท่าเทียบเรือ เรียกเก็บตามจำนวนครั้งที่ยก ในอัตราดังนี้


   บาท/ตู้/ครั้ง
 
 
<20’
20’
40’
45’
301.1
ปั้นจั่นของท่าเรือ
300
500
850
1,000
 
ปั้นจั่นของเรือหรือเอกชน
75
125
215
250

302
ค่าธรรมเนียมการใช้ท่าของตู้สินค้า(CONTAINER WHARFAGE FEE)
เป็นค่าใช้ท่าเทียบเรือ ในการเคลื่อนย้ายตู้สินค้าที่ขนถ่ายขึ้นจากเรือ หรือเพื่อบรรทุกลงเรือ ซึ่งมีการดำเนินการดังนี้

ตู้สินค้า FCL หรือตู้สินค้าเปล่า
(1) ที่ขนถ่ายจากเรือแล้วส่งมอบโดยตรง หรือเคลื่อนย้ายไปเก็บที่ลานเก็บตู้สินค้า เพื่อรอการส่งมอบ หรือ
(2) เพื่อบรรทุกลงเรือโดยวิธีปฏิบัติในทางกลับกัน

ตู้สินค้า LCL
(1) ที่ขนถ่ายจากเรือ นำไปเก็บที่ลานเก็บตู้สินค้า แล้วเคลื่อนย้ายไปยังสถานที่เปิดตู้สินค้า เพื่อทำการเปิดตู้ นำสินค้าเข้าเก็บในที่เก็บสินค้า หรือส่งมอบโดยตรง แล้วนำตู้สินค้าเปล่าไปเก็บที่ลานเก็บตู้สินค้า หรือ
(2) เพื่อบรรทุกลงเรือ โดยวิธีปฏิบัติในทางกลับกัน
ทั้งนี้ การดำเนินการเคลื่อนย้ายตู้สินค้า การเปิดตู้นำสินค้าออก หรือบรรจุสินค้าเข้าตู้สินค้า ผู้ขออนุญาตต้องดำเนินการเอง
บาท/ตู้/ครั้ง
 
 
<20’
20’
40’
45’
302.1
ตู้สินค้า FCL
180
300
450
480
302.2
ตู้สินค้า LCL
300
500
750
800
302.3
ตู้สินค้าเปล่า
90
150
225
240
กรณีตู้สินค้า LCL ขาเข้า ที่ขนถ่ายจากเรือ ได้เปิดตู้และนำสินค้าบรรทุกขึ้นยานพาหนะเพื่อนำออกนอกเขตท่าเรือ หรือฝากเก็บไว้ ณ ที่เก็บสินค้าและได้นำตู้สินค้าเปล่านั้น บรรทุกลงเรือ เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการใช้ท่าสำหรับ ตู้สินค้าดังกล่าว ตามลำดับที่ 302.3 ด้วย
303
ค่าธรรมเนียมการส่งมอบหรือรับมอบตู้สินค้า(CONTAINER DELIVERING/ RECEIVING FEE)
เป็นค่าใช้เครื่องมือของท่าเรือหรือเอกชน ในการยกตู้สินค้า FCL หรือตู้สินค้าเปล่า หรือยกสินค้าจากตู้ LCL ขาเข้าที่เปิดขนส่งหน้าตู้ขึ้นยานพาหนะ เพื่อนำออกนอกเขตท่าเรือ หรือยกตู้สินค้าขาออกที่นำผ่านท่าเข้าเขตท่าเรือ ลงจากยานพาหนะเพื่อบรรทุกลงเรือ เรียกเก็บตามสถานภาพของตู้สินค้า ในอัตราดังนี้

303.1 ยกตู้สินค้า/สินค้าขาเข้าขึ้นยานพาหนะ บาท/ตู้
บาท/ตู้
 
 
<20’
20’
40’
45’
 
ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
       
303.1.1
ตู้สินค้า FCL
300
500
750
800
303.1.2
ตู้สินค้าเปล่า
150
250
375
400
303.1.3
ตู้สินค้า LCL ที่เปิดขนส่งหน้าตู้
555
925
1,575
1,850
 
ใช้เครื่องมือของเอกชน
 
 
 
 
303.1.4
ตู้สินค้า FCL
100
165
250
265
303.1.5
ตู้สินค้าเปล่า
50
85
125
135
303.1.6
ตู้สินค้า LCL ที่เปิดขนส่งหน้าตู้
185
305
520
610

303.2 ยกตู้สินค้าขาออกลงจากยานพาหนะ บาท/ตู้
      บาท/ตู้
 
 
<20’
20’
40’
45’
 
ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
       
303.2.1
ตู้สินค้า FCL
300
500
750
800
303.2.2
ตู้สินค้าเปล่า
150
250
375
400
 
ใช้เครื่องมือของเอกชน
       
303.2.3
ตู้สินค้า FCL
100
165
250
265
303.2.4
ตู้สินค้าเปล่า
50
85
125
135
 
 304
ค่าธรรมเนียมฝากตู้สินค้า (CONTAINER STORAGE FEE)
เป็นค่าฝากตู้สินค้าขาเข้าที่ขนถ่ายขึ้นจากเรือ และมิได้นำออกนอกเขต
ท่าเรือ หรือตู้สินค้าขาออกที่นำเข้าเขตท่าเรือ เพื่อรอบรรทุกลงเรือ โดยได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากตู้สินค้า 3 วัน นับถัดจากวันเสร็จสิ้นการขนถ่ายของเรือ หรือวันนำผ่านท่าเข้าเขตท่าเรือ แล้วแต่กรณี
ตู้สินค้าอันตราย ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากตู้สินค้า 1 วัน นับถัดจากวันเสร็จสิ้นการขนถ่ายของตู้สินค้านั้น
ตู้สินค้าเปล่าที่เปลี่ยนสถานภาพจากตู้สินค้า LCL ขาเข้า เริ่มนับระยะเวลาฝากตู้สินค้าตั้งแต่วันถัดจากวันที่ทำการเปิดตู้ เว้นแต่ยังอยู่ในระยะเวลาที่ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากตู้สินค้า LCL เมื่อพ้นระยะเวลาที่ได้รับสิทธิดังกล่าว จะเรียกเก็บเป็นรายวัน ในอัตราดังนี้
 
 
บาท/ตู้/วัน
 
 
<20’
20’
40’
45’
304.1
ตู้สินค้า FCL
75
125
250
310
304.2
ตู้สินค้าเปล่า
15
25
50
60

ท่าเทียบเรือเอนกประสงค์

ส่วนที่ 4

ค่าธรรมเนียมและค่าเช่าเครื่องมือทุ่นแรงเรียกเก็บจากผู้ขออนุญาต



ลำดับที่
 
401
ค่าธรรมเนียมยานพาหนะและเครื่องมือทุ่นแรงผ่านท่า (VEHICLES AND EQUIPMENT ADMISSION FEE)
401.1 ค่าธรรมเนียมผ่านท่า
            เป็นค่านำยานพาหนะหรือเครื่องมือทุ่นแรงเข้ามาในเขตท่าเรือ เรียกเก็บตามประเภทของยานพาหนะและเครื่องมือทุ่นแรง เฉพาะเที่ยวขาเข้า ในอัตราดังนี้
 
 
บาท/คัน
401.1.1
รถยนต์โดยสาร 4 ล้อ
50
401.1.2
รถยนต์โดยสารขนาดใหญ่
100
401.1.3
รถยนต์บรรทุก 4 ล้อ
20
401.1.4
รถยนต์บรรทุก 6 ล้อ
30
401.1.5
รถยนต์บรรทุก 8 – 10 ล้อ
50
401.1.6
รถยนต์บรรทุก 8 – 10 ล้อ และรถลากพ่วง
100
401.1.7
รถยนต์หัวลากและหางลาก
100
401.1.8
รถยก
100
401.1.9
รถยกตู้สินค้า หรือรถปั้นจั่นเคลื่อนที่
200

401.2 ค่าธรรมเนียมอยู่ในเขตท่าเรือ
           เป็นค่าอยู่ในเขตท่าเรือ ของยานพาหนะและเครื่องมือทุ่นแรง เกิน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่เวลาที่นำเข้า เรียกเก็บเป็นรายวัน ตามอัตราค่าธรรมเนียมผ่านท่า ลำดับที่ 401.1 เครื่องมือทุ่นแรงตามลำดับที่ 401.1.8 และ 401.1.9 ที่อยู่ในเขตท่าเรือต่อเนื่องเกินกว่า 7 วัน จะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมของวันที่ 8 เป็นต้นไปในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราที่กำหนดค่าธรรมเนียมตามลำดับที่ 401 ได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ไว้ด้วยแล้ว
402
ค่าเช่ารถยก (FORK LIFT TRUCK)
 
 
บาท/คัน/ชม.
402.1
ขนาดไม่เกิน 3 ตัน
400
402.2
ขนาด 5 ตัน
500

403
ค่าเช่ารถปั้นจั่นเคลื่อนที่ (MOBILE CRANE)
 
 
บาท/คัน/ชม.
402.1
ขนาดไม่เกิน 15 ตัน
1,200
402.2
ขนาด 50 ตัน
5,000

 404
ค่าธรรมเนียมการใช้พื้นที่เป็นค่าธรรมเนียมการใช้พื้นที่สำหรับวางตู้สินค้าเปล่าใช้เป็นสำนักงาน หรือเก็บเครื่องมืออุปกรณ์ หรือฝากเก็บเครื่องมือทุ่นแรง หรือสิ่งของอื่น ๆ ในเขตท่าเรือ
 
 
    บาท/ตู้/เดือน
 
 
<20’
20’
40’
45’
404.1
วางตู้สินค้าเปล่า
900
1,500
3,000
3,500
404.2
ฝากเก็บเครื่องมือทุ่นแรงที่อยู่ในเขตท่าเรือเกินกว่า 15 วัน หรือฝากเก็บสิ่งของอื่น ๆ ตารางเมตรละ
ค่าธรรมเนียมการใช้บริการท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ระนอง

คำนิยาม (DEFINITION)

 

1. ท่าเรือ หมายถึง ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ระนอง

2. วัน หมายถึง ระยะเวลาจาก 00.00 นาฬิกา ถึง 24.00 นาฬิกา ของวันนั้น ๆ เว้นแต่จะกำหนดเป็นอย่างอื่น

3. GT (GROSS TONNAGE) หมายถึง จำนวนตันรวมของเรือ หรือเรือลำเลียง ที่คิดคำนวณตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยการวัดขนาดของเรือ ค.ศ.1969

4. ตัน หมายถึง REVENUE TONNE คือน้ำหนักเป็นเมตริกตัน หรือปริมาตรเป็นลูกบาศก์เมตร อย่างใดอย่างหนึ่งที่มีจำนวนมากกว่า ใช้เป็นหน่วยในการคิดคำนวณค่าธรรมเนียม

5. ผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก หมายถึง เจ้าของสินค้าขาเข้าหรือขาออก หรือบุคคลอื่นซึ่งเป็นผู้ครอบครอง หรือมีส่วนได้เสียในสินค้านั้นแม้ชั่วขณะหนึ่ง สินค้าขาเข้านับแต่ได้รับมอบจากเจ้าของเรือหรือตัวแทนเจ้าของเรือ และส่งมอบให้เจ้าของสินค้า สินค้าขาออก นับแต่ได้รับจากเจ้าของสินค้าและส่งมอบให้เจ้าของเรือหรือตัวแทนเจ้าของเรือ

6. ที่เก็บสินค้า หมายถึง สถานที่กองเก็บสินค้าทั้งภายใน และภายนอกโรงพักสินค้า ที่อยู่ในเขตท่าเรือระนอง

7. สินค้าอันตราย (DANGEROUS GOODS) หมายถึงสิ่งของหรือวัตถุ ที่มีคุณสมบัติทางเคมี หรือทางกายภาพโดยตัวของมันเอง หรือเมื่อสัมผัสกับสารอื่น (อากาศหรือน้ำ ฯลฯ) ทำ ให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ ทรัพย์สิน หรือต่อสภาพแวดล้อม ตามที่ระบุไว้ใน IMDG (INTERNATIONAL MARITIME DANGEROUS GOODS CODE)

8. ตู้สินค้า หมายถึง ภาชนะบรรจุสินค้า เพื่อความสะดวก หรือเพื่อความปลอดภัยในการขนส่งระหว่างประเทศ ซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ISO

9. ตู้สินค้า FCL (FULL CONTAINER LOAD) หมายถึง ตู้มีสินค้าที่ไม่มีการเปิดตู้นำสินค้าออก หรือบรรจุสินค้าเข้าตู้สินค้า ในเขตท่าเรือระนอง

10. ตู้สินค้า LCL (LESS THAN CONTAINER LOAD) หมายถึง ตู้มีสินค้าขาเข้าที่มีการเปิดตู้นำสินค้าออก หรือทำการบรรจุสินค้าขาออกเข้าตู้สินค้า ในเขตท่าเรือระนอง

11. ตู้สินค้าอันตราย หมายถึงตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าอันตราย

12. ค่าธรรมเนียม หมายถึง ค่าใช้สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือโครงสร้างพื้นฐานของท่าเรือระนอง โดยมิได้รวมถึงการให้บริการแรงงาน และ/ หรือเครื่องมือทุ่นแรง เว้นแต่จะกำหนดเป็นอย่างอื่น

 

13. การคิดคำนวณค่าธรรมเนียม ที่เรียกเก็บเป็นตัน หรือรายวัน หรือรายชั่วโมง ให้ถือว่าเศษของตัน หรือวัน หรือชั่วโมง คิดเป็น 1 ตัน หรือ 1 วัน หรือ 1 ชั่วโมง แล้วแต่กรณี เว้นแต่จะกำหนดเป็นอย่างอื่น

14. การดำเนินการขนถ่ายหรือบรรทุกสินค้า/ตู้สินค้า ขึ้นหรือลงเรือหรือรถบรรทุก หรือเปิดตู้นำสินค้าออกหรือบรรจุสินค้าเข้าตู้สินค้า (STEVEDORING) เป็นหน้าที่ของเจ้าของเรือ หรือสินค้าหรือผู้ขออนุญาต ซึ่งท่าเรือระนอง การท่าเรือแห่งประเทศไทย อนุญาตให้จดทะเบียนเป็นผู้ทำหน้าที่บรรทุก หรือขนถ่ายสินค้าท่าเรือระนอง (STEVEDORE) เว้นแต่จะกำหนดเป็นอย่างอื่น

70 บาท/เดือน



 
 



คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 15295เขียนเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2006 09:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 มิถุนายน 2012 12:02 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท