แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา 2550-2554  ของกระทรวงศึกษาธิการ สืบค้นได้ที่

http://www.moe.go.th/webpdit/proj_2550/itplan.htm 

คำถามเพื่อการวิเคราะห์

ประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนแม่บท 2550-2554 แตกต่างจาก ประเด็นยุทธศาสตร์ในแผนแม่บท 2547-2549 อะไรบ้าง  อย่างไร 

หมายเลขบันทึก: 149012เขียนเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2007 11:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 22:15 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (10)

สวัสดีค่ะ  ท่านอาจารย์ที่เคารพ  หนูคิดว่าหนูจะไปไม่รอด  เพราะหนูไม่รู้อะไรเลย  ขอความกรุณาช่วยหนูด้วย 

ขอบคุณค่ะอาจารย์

ครูอ้อย ขออนุญตเก็บไว้แพลนเน็ตแล้วค่ะ

แวะมาเยี่ยมชมครับ

ขอบคุณสำหรับข้อมูลใหม่ๆครับ

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2547-2549 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินการ 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้ ICT เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การใช้ ICT พัฒนาการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้าน ICT

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การกระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการศึกษา

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2550 -2554  ได้ กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินการ 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างโอกาส เพิ่มขีดความสามารถและยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-learning)

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเป็นผู้นำในการใช้ ICT เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา (e-Management)

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิตและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้าน ICT (e-Manpower)

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2547 - 2549 ต่างกับยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2550 - 2550 ที่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2547 - 2549 เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนทางไกล , จัดให้มีห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)  , ส่งเสริมการเรียนอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (lifelong Learning) , จัดให้มีศูนย์ข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Courseware Center) , เน้นพัฒนาผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา , พัฒนาหลักสูตรให้เอื้อต่อการประยุกต์ใช้ ICT

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2550-2554 ต่างกันตรงที่เป็นการเร่งรัดใช้โครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการเรียนรู้ตามความต้องการและความจำเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พ.ศ.2547-2549 ต่างกับยุทธศาสตร์ที่ 2 พ.ศ.2550-2554 ตรงที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2547-2549 เน้นพัฒนาบุคลากร , ให้บริการทางการศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนยุทธศาสตร์ที่ 2 พ.ศ.2550-2554 เน้นการเป็นผู้นำ ICT , การให้บริการทางการศึกษา (e-Management) , มุ่งพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารงานของรัฐ(Book office) สู่การเป็นสำนักงานอัตโนมัติ (e-office)

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2547-2549 ต่างกับยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2550-2554 ตรงที่ยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2547-2549 เน้นการผลิตและพัฒนาบุคลากร เพื่อรับรองความต้องการกำลังคนด้าน ICT , จัดให้มีการพัฒนาหลักสูตร ICT ในทุกระดับการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2550-2554 เป็นการผลิตและพัฒนาบุคล ICT ระดับมืออาชีพ (e-professional) , พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานทรัพยากรบุคคล เพื่อสังคม ICT และสังคมแห่งการเรียนรู้ (e-Society และ Learning Society)

ยุทธศาสตร์ที่ 4 พ.ศ.2547-2549 เน้นการกระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT , มุ่งเน้นการจัดหาและใช้ทรัพยากรทางด้านเครือข่ายร่วมกัน , จัดหาระบบคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดำเนินการอย่างถูกต้องตามกฎหมายโดยร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น , เตรียมบุคลากรปฏิบัติงานด้าน ICT ให้เพียงพอ

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2547-2549 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินการ 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้ ICT เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การใช้ ICT พัฒนาการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้าน ICT

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การกระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการศึกษา

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียน  สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกาทุกแห่งมีโอกาสเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อนำไปสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้เพื่อประยุกต์ใช้  ICT

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2550 -2554  ได้ กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินการ 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างโอกาส เพิ่มขีดความสามารถและยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเป็นผู้นำในการใช้ ICT เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา (e-Management)

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิตและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้าน ICT (e-Manpower)

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2547 - 2549 ต่างกับยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2550 - 2554 ที่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2547 - 2549 เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนทางไกล , จัดให้มีห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)  , ส่งเสริมการเรียนอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (lifelong Learning) , จัดให้มีศูนย์ข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Courseware Center) , เน้นพัฒนาผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา , พัฒนาหลักสูตรให้เอื้อต่อการประยุกต์ใช้ ICT

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2550-2554 ต่างกันตรงที่เป็นการเร่งรัดใช้โครงสร้างพื้นฐาน ICT สร้างความร่วมมือและส่งเสริมการพัฒนาและการใช้สื่ออีเล็กทรอนิกส์ เพื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย  เพื่อการเรียนรู้ตามความต้องการและความจำเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พ.ศ.2547-2549 ต่างกับยุทธศาสตร์ที่ 2 พ.ศ.2550-2554 ตรงที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 พ.ศ.2547-2549 เน้นพัฒนาบุคลากร , ให้บริการทางการศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนยุทธศาสตร์ที่ 2 พ.ศ.2550-2554 เน้นการเป็นผู้นำ ICT , การให้บริการทางการศึกษา (e-Management  Infastructure) , มุ่งพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารงานภาครัฐ (Book office) สู่การเป็นสำนักงานอัตโนมัติ (e-Office)

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2547-2549 ต่างกับยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2550-2554 ตรงที่ยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2547-2549 เน้นการผลิตและพัฒนาบุคลากร เพื่อรับรองความต้องการกำลังคนด้าน ICT , จัดให้มีการพัฒนาหลักสูตร ICT ในทุกระดับการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พ.ศ.2550-2554 เป็นการผลิตและพัฒนาบุคล ICT ระดับมืออาชีพ (e - Professional) , พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานทรัพยากรบุคคล เพื่อสังคม ICT และสังคมแห่งการเรียนรู้ (e-Society & Learning Society)

ยุทธศาสตร์ที่ 4 พ.ศ.2547-2549 เน้นการกระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT , มุ่งเน้นการจัดหาและใช้ทรัพยากรทางด้านเครือข่ายร่วมกัน , จัดหาระบบคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดำเนินการอย่างถูกต้องตามกฎหมายโดยร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน ชุมชนและท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการเรียนรู้การบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษาเพื่อยกระดับคุฯภาพชีวิตและสังคมไทย

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา (พ.ศ.2550-2554)  มีความแตกต่างจาก แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา (พ.ศ.2547-2549)   ตรงที่ประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนแม่บท พ.ศ.2550-2554    มี ยุทธศาสตร์ คือ

ยุทธศาสตร์ที่ 1  การสร้างโอกาส  เพิ่มขีดความสามารถและยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)         

ยุทธศาสตร์ที่ 2   การเป็นผู้นำในการใช้ ICT เพิ้มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการ (e-Management)

ยุทธศาสตร์ที่ 3  การผลิตและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้าน ICT (e-Manpower)

           ส่วนแผนแม่บท พ.ศ. 2547-2549   มี 4 ยุทธศาสตร์  คือ

ยุทธศาสตร์ที่   การใช้ ICT  เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

ยุทธศาสตร์ที่ 2    การใช้  ICT  พัฒนาการบริหารจัดการและให้บริการทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่   ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้าน ICT

ยุทธศาสตร์ที่ 4   การกระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT  เพื่อการศึกษา

          หากวิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บททั้งสอง   ตามความคิดของข้าพเจ้านั้นแผนแม่บททั้งสองมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น

ยุทธศาสตร์ที่ 1   แผนแม่บท พ.ศ.2550-2554    ส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษาใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Contents) เพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตามมาตรฐานที่กำหนด   ทั้ง e-Book, e-Library, Courseware, LMS  รวมทั้งจัดศูนย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Content center)  และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้วย ICT (e-Learning  System)  ในรูปแบบที่หลากหลาย      ส่วนแผนแม่บท พ.ศ.2547-2549   ก็มุ่งเน้นที่จะพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)  , มีศูนย์ข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์  (Courseware center)  และ  ห้อง สมุดอิเล็กทรอนิกส์  (e-Library)     จะเห็นได้ว่ายุทธศาสตร์ที่ 1 ของแผนแม่บททั้งสองนั้น   ต่างก็มุ่งเน้นที่การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์         

ยุทธศาสตร์ที่ 2     แผนแม่บท พ.ศ. 2550-2554   แตกต่างกันที่ระบบ Software ที่นำมาใช้ในการบริหารจัดการ  และมีการนำยุทธศาสตร์ที่ 4 ของแผนแม่บท พ.ศ. 2547-2549   มารวมอยู่ด้วย  (ส่งเสริมการใช้เครื่อข่ายวิทยุกระจายเสียง  วิทยุโทรทัศน์และการสื่อสารโทรคมนาคม   เพื่อการศึกษา)

ยุทธศาสตร์ที่ 3    แผนแม่บท พ.ศ. 2550-2554   มุ่งเน้นการผลิตและพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับความต้องการกำลังคนด้าน ICT    ส่วนแผนแม่บท พ.ศ 2547-2549    เน้นผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีมาตรฐานสมรรถนะด้าน ICT   ระดับมืออาชีพ (e-Professional) ,พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานทรัพยากรบุคคล เพื่อสังคม ICT และสังคมแห่งการเรียนรู้ (e-Society&Learning Society)       นอกจากนี้ยังมียุทธศาสตร์ที่ ของแผนแม่บท พ.ศ.2547-2549 รวมอยู่ในยุทธศาสตร์นี้ด้วย  (พัฒนาบุคลากรด้าน ICT ให้มีความรู้ความสามารถในระดับที่สูงขึ้น และก้าวทันเทคโนโลยี)

 

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา  กระทรวงศึกษาะการ  พ.ศ.  2547-2549  ได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินการ  4  ยุทธสตร์  ดังนี้

ยุทธศาสตร์ที่  1  การใช้  ICT  เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

ยุทธศาสตร์ที่  2  การใช้  ICT  พัฒนาการบริหารจัดการและให้บริการทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่  3  การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้าน  ICT

ยุทธศาสตร์ที่  4  การกระจายโครงสร้างพื้นฐาน  ICT เพื่อการศึกษา 

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงศึกษาธิการปี  พ.ศ.  2550-2554  เสร็จแล้ว  เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการยกร่างแผนแม่บทฯของมศว  จึงได้จัดทำบทสรุปสำหรับผู้บริหาร  ด้านวิสัยทัศน์  ผู้เรียน  ผู้สอน  บุคลากรทางการศึกษาและประชาชน  ใช้ประโยชน์จาก  ICT  ในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา  ได้เต็มศักยภาพ  อย่างมีจริยธรรม มีสมรรถนะทาง  ICT  ตามมาตรฐานสากลมี  มียุทธศาสตร์   3  ยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่  1  การสร้างโอกาส  เพิ่มขีดความสามารถและยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วยสื่ออีเล็กทรอนิกส์  (e-Learning)

ยุทธศาสตรที่  2  การเป็นผู้นำในการใช้  ICT  เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา  (e-Menagement)

ยุทธศาสตร์ที่  3  การผลิตและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้าน  ICT  (e-Manpower)

เปรียบเทียบยุทธศาสตร์ปี  2547-2549  กับปี  2550-2554

ยุทธศาสตร์ 2547-2549 ต่างกับยุทธศาสตร์   2550-2550   

ยุทธศาสตร์ที่  1  2547-2549  เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนทางไกลจัดให้มีห้องสมุดอีเล็กทรอนิกส์  ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต  จัดให้มีศูนย์ข้อมูลสื่ออีเล็กทรอนิกส์   เน้นพัฒนาผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา  พัฒนาหลักสูตร   โดยใช้  ICT

ยุทธศาสตร์ที่  1  2550-2554  ต่างกันที่เป็นการเร่งรัดใช้โครงสร้างพื้นฐาน  ICT  สร้างความร่วมมือและส่งเสริมการพัฒนาการใช้สื่ออีเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย

ยุทธศาสตร์ที่  2  2547-2549  ต่างกับยุทธศาสตร์ที่  2  2550-2554  เน้นบุคลากร  ให้บริการทางการศึกษาด้วยระบบอีเล็กทรอนิกส์  ส่วนยุทธศาสตรที่  2  2550-2554  เน้นการเป็นผู้นำ  ICT  การให้บริการทางการศึกษามุ่งประสิทธิภาพระบบการบริหารงานภาครัฐ  สู่การเป็นสำนักงานอัตโนมัติ  (e-Office)

ยุทธศาสตร์ที่  3  2547-2549  ต่างกับยุท
ธศาสตร์ที่  3  2550-2554    ยุทธศาสตร์ที่  3  2547-2549  เน้นการพัฒนาบุคลากรเพื่อรับรองความต้องการกำลังคนด้านณแ  จัดให้มีการพัฒนาหลักสูตร ICT  ทุกระดับการศึกษา  ยุทธศาสตร์ที่  3  2550-2554  เป็นการผลิตและพัฒนาบุคคล  ICT  ระดับมืออาชีพ  (e-Professinal)  สมรรถนะพื้นฐานทรัพยากรบุคคลเพื่อสังคม ICT  และสังคมแห่งการเรียนรู้  (e-Society&Learning  Society)

ยุทธศาสตร์ที่  4  2547-2549  เน้นการกระจายโครงสร้างพื้นฐาน  ICT  เน้นการจัดหาและใช้ทรัพยากรทางด้านเครื่อข่ายร่วมกันจัดหาคอมพิวเตอร์และซอฟแวร์ในการดำเนินการอย่างถูกต้องดดยความร่วมมือกับภาครัฐ  เอกชน  ชุมชน  และท้องถิ่นเพื่อให้การบริการทางการศึกษายกระดับคุณภาพชีวิตและสังคมไทย

 

ประเด็นยุทธศาสตร์แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ.2547-2549 เปรียบเทียบกับ  พ.ศ.2550-2554

ยุทธศาสตร์ที่1. (2547-2549)    การใช้ICT  เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน    โดยมีเป้าหมายให้ทางด้านผู้เรียนและปริมาณการเรียนและการเข้าถึงระบบอิเล็คทรอนิคของผู้สอนและผู้เรียน  รวมถึงปริมาณการผลิตสื่อที่หลากหลาย  มีห้องสมุดอิเล็คทรอนิคที่สามารถสืบค้นได้ทุกพื้นที่เขตการศึกษา มีที่ให้บริการทางICT ทุกตำบล  และส่วนใหญ่เน้นไปทางด้านสื่อ  เอกสาร  และสร้างแกนนำ

ในขณะที่  2550-2554  เน้นในสถานศึกษาทุกแห่งทุกระดับให้จัดการเรียนการสอนโดยใช้ICTประกอบโดยให้มีการบริการในทุกพื้นที่อย่างได้มาตรฐานตามที่กำหนดรวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรวัยแรงงาน

ยุทธศาสตร์ที่2

(2547-2549)การใช้ICTพัฒนาการจัดการและให้บริการทางการศึกษา  =ให้มีข้อมูลกลางที่สอดรับทุกระดับให้ทุกหน่วยงานมีคลังข้อมูลเพื่อการวางแผนและตัดสินใจ ให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านระบบอิเลคทรอนิคทุกระดับเชื่อมโยงถึงระดับชาติให้ทุกหน่วยงานทางการศึกษามีคอมพิวเตอร์เฉพาะด้านมีความรู้ความสามารถในการใช้ICTเพื่อปฏิบัติงานและลดปริมาณการใช้กระดาษ(2550-2544)การเป็นผู้นำในการใช้ICT เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษา(e-Management)ทั้งทางระบบอุปกรณ์  ที่มีความเร็วสูงการสื่อสารที่ทันสมัยเพิ่มทางเลือกให้กับประชาชนในหน่วยงานของภาตรัฐ

ยุทธศาสตร์ที่  3

(2547-2549) ผลิตบุคคลากรทางด้านการศึกษาที่มีความรู้ทาง  ICT  ทั้งนักพัฒนาซอฟแวร์  นักวิจัย  ต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม  ภาครัฐ  และภาคเอกชน

(2550-2554)  เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรที่มีความรู้ต่าง ๆ  ทาง  ICT  นำสู่ระดับประเทศและแข่งขันกับต่างประเทศพร้อมทั้งประเมินและรับรองมาตรฐานวิชาชีพ  (Unicersal  licenses) 

ยุทธศาสตร์ที่  4 

(2547-2549)  การกระจายโครงสร้างพื้นฐาน  ICT เพื่อการศึกษาเข้าสู่สถานศึกษาทุกแห่งอย่างมีระบบเพื่อพัฒนาบุคลากรเป็นแกนนำ  ICT  ในสถานศึกษาทุกแห่ง 

(2550-2554)  ในแผนแม่บทไม่มีซึ่งยังคงควรที่จะเน้นเพิ่มการศึกษาทุกแห่งให้มีการเรียนการสอนทาง  ICT  เพิ่มมากขึ้นจากอย่างแห่งละ  1  ห้อง  ควรเป็นทุกห้องเรียนและมีการเรียนการสอนในด้านการป้องกันภัยที่คลุกคามที่คาดไม่ถึงที่อาจเกิดขึ้นได้กับผู้เรียนควรมีกฎหมายรับรองอย่างชัดเจน

รังษิยา พันธ์บุญมี

วิเคราะห์แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา  ระหว่าง ( พ.ศ. 2547 - 2549 ) กับ ( พ.ศ. 2550-2554 )

จากแผนเดิมนั้นมียุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 

ยุทธศาสตร์ที่   การใช้ ICT  เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

ยุทธศาสตร์ที่ 2    การใช้  ICT  พัฒนาการบริหารจัดการและให้บริการทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่   ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้าน ICT

ยุทธศาสตร์ที่ 4   การกระจายโครงสร้างพื้นฐาน ICT  เพื่อการศึกษา

ภายหลังการร่างแผนแม่บทเทคโนโลยีฯ ปี 2550-2554

 ยุทธศาสตร์ถูกลดลงเหลือเพียง 3 ยุทธศาสตร์

ได้แก่

ยุทธศาสตร์ที่ 1  การสร้างโอกาส  เพิ่มขีดความสามารถและยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)         

ยุทธศาสตร์ที่ 2   การเป็นผู้นำในการใช้ ICT เพิ้มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการ (e-Management)

ยุทธศาสตร์ที่ 3  การผลิตและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้าน ICT (e-Manpower)

    จากการที่ได้ศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดของแผนแม่บททั้งสองนั้น  ก็อาจกล่าวได้ว่าแต่เดิมนั้นเราเพียงริเริ่มที่จะใช้ ICT และพัฒนาการใช้สู่ระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบการศึกษา  ระบบการบริการจัดการ  และการพัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ ICT ได้ แต่ภายใต้คำว่าใช้ได้หรือนำไปใช้ ก็ยังไม่มีข้อกำหนดถึงมาตรฐานหรือเป้าหมายที่จะสามารถดำเนินการให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน  แต่ในร่างแผนแม่บทฯใหม่นั้นถึงจะถูกตัดทอนลงเหลือเพียง 3 ยุทธศาสตร์ ก็มีความครอบคลุมไม่น้อยไปกว่า 4 ยุทธศาสตร์เดิมมีการกำหนดเป้าหมายได้ชัดเจนขึ้น  และนอกเหนือจากการริเริ่มใช้ ICT  การพัฒนาและการกระจายโครงสร้าง ICT แบบเดิมนั้น เราสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการพัฒนาและการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( e - Content ) เพื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย  ทั้งครู  อาจารย์  บุคลากรทางการศึกษา บุคคลของทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน  ภายในประเทศและต่างประเทศ  อีกทั้งยังเร่งรัดการใช้โครงสร้างพื้นฐาน ICT เพื่อการเรียนรู้ตามความต้องการและความจำเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ  โดยการสร้างโอกาสเพิ่มขีดความสามารถและยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( e - Learning ) ให้สามารถเป็นผู้นำในการใช้ ICT เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการทางการศึกษาในทุกหน่วยงาน

      ถ้าในทุกหน่วยงานดำเนินการตามแผนร่างได้สำเร็จก็นับว่าไม่ยากที่เราจะได้มุ่งสู่การเป็นผู้นำทางด้านการใช้ ICT

 

วิเคราะห์ความแตกต่างแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ

ระหว่าง ..2547-2549 กับ ..2550-2554

ดังนี้

ยุทธศาสตร์ที่ 1
เหมือนกันตรงที่ จะส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้ นำไปประโยชน์ จาก I C T มากที่สุดและส่งเสริม การเรียน ทั้งในระบบและนอกระบบ เหมือนกันจะต่างกันตรงที่ แผนแม่บทฯ

2547-2549 การจัดการเรียนการสอน I C T ให้มีประสิทธิภาพและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง แต่แผนฯ2550-2554 จะมีการพัฒนา ทุกด้านที่กล่าวในเนื้อหาเพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและจะเน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้ ตามความต้องการและความจำเป็นมากยิ่งขึ้นยุทธศาสตร์ ที่ 2

แผนฯ2547-2549 เน้นการพัฒนาระบบ การบริหารภายในสำนักงานและการให้บริการทางการศึกษาทุกระดับ หน่วยงาน และลดขั้นตอนการใช้วัสดุสิ้นเปลือง เช่นการใช้กระดาษให้น้อยลง

แผนฯ 2550-2554 เน้นการเป็นผู้นำในการใช้ I C T และได้วางเป้าหมาย คิดเป็นร้อยละ ออกมาถึงขีดความสามารถของกลุ่มการใช้ I C Tและยังส่งเสริมให้ประชากรร้อยละ 70 นำมาใช้เพื่อยกระดับ การศึกษาของตนเอง

ยุทธศาสตร์ที่ 3 เหมือนกันที่เน้นผลิตบุคลากร เพื่อการพัฒนาการศึกษาและอุตสาหกรรม แต่แผนแม่บทฯ2550-2554 จะเน้นการพัฒนาบุคลากร I C T ให้มีศักยภาพเท่าเทียมตามมาตรฐานสากลและไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของบุคลากรด้าน I C T

ยุทธศาสตร์ที่ 4 แผนแม่บทฯ 2547-2549 มุ่งเน้นให้มีการกระจายโครงสร้างพื้นฐานการศึกษาลงสู่ทุกพื้นที่ โดยความร่วมมือของภาคต่าง ๆและดำเนินการถูกต้องตามกฎหมาย มีการเชื่อมโยงให้เป็นเครือข่ายเดียวกันทั่วประเทศรวมถึงพัฒนาบุคลากรบุคลากรทาง I C T ให้มีประสิทธิภาพทั้งทางด้านการศึกษาและการซ่อมบำรุงรักษา

ส่วน ในแผนฯ2550-2554 จากการวางโครงสร้างในแผนแม่บทฯที่ผ่านมา คิดว่าในแผนนี้คงจะเน้นการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพให้มากที่สุด ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีการพัฒนาไม่หยุดนิ่ง

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท