anywhere Dhamma(1)


เราจะนับถือและเข้าใจในพุทธศาสนามากขึ้นหรือน้อยลงหากมีการระบุความเป็นศาสนาประจำชาติลงในรัฐธรรมนูญ

ระหว่างนี้ประเด็นหนึ่งที่คุยกันกับคนใกล้ตัวเกี่ยวกับการระบุลงในรัฐธรรมนูญฉบับร่างใหม่ว่าสมควรหรือไม่ที่จะระบุลงไปว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ..

.เราไม่ถึงกับคัดค้านแต่ก็ไม่ได้สนับสนุน.

.อยู่ในระยะการขอรับฟังเหตุผลทั้งสองด้านมากกว่า..

.หากระบุแล้วพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนจะมีคุณภาพชีวิตและวัตรปฏิบัติที่ดี-เข้มแข็งจริงจังยิ่งขึ้นก็น่าอนุโมทนาด้วย

แต่ถ้าระบุไปแล้วไม่ได้ทำให้เราเห็นและเข้าใจถึงหลักธรรมคำสอนแห่งองค์พระศาสดามากขึ้นแต่อาจกลับกลายเป็นการก่อให้เกิดการแบ่งเขาแบ่งเราระหว่างศาสนิกต่างๆแล้วมันจะมีประโยชน์ในการระบุลงไป..เป็นการเสริมอัตตาให้กล้าแกร่งยิ่งขึ้นอีกหรือไม่...ไม่มีคำตอบที่ชี้ชัดได้

หมายเลขบันทึก: 91894เขียนเมื่อ 23 เมษายน 2007 00:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 18:18 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ขอสนับสนุนค่ะ เพราะยุคนี้ เป็นยุคไร้รากจริงๆ จำเป็นและสมควรอย่างยิ่งที่ต้องฟื้นฟูคุณธรรมจริยธรรมของคนในชาติ ไม่ให้ออกนอกลู่นอกทางไปไกลจนกู่(แทบจะ)ไม่กลับแบบนี้ รากของเราคือพุทธศาสนาค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท