ขุมความรู้ เรื่องการประเมินผล KM และการสร้างตัวชี้วัด


จากงานมหกรรมจัดการความรู้แห่งชาติ ครั้งที่ ๒ วันที่ ๒ ธค. ๔๘

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
การวัดผลการจัดการความรู้
ใช้ WH ในการวัดผล KM
How
What
When
Why
Who
-        ถ้าวัดไม่ได้ ก็จะจัดการไม่ได้ก็จะปรับปรุงไม่ได้
-        กระบวนการวัดเป็นเรื่องสำคัญมาก
คำถามหลักของการวัด KM
Why ทำไมต้องวัด
- เพื่อติดตามสิ่งที่ที่เราไปทำ
ผล ไม่บรรลุจะปรับปรุงอย่างๆไร (คำถามหลัก) คุ้มค่าไหม ลงทุนไปกี่บาท)
๑.    ภาคราชการความคุ้มค่าคืออะไร สุขภาพดี สังคมดี ตัวชี้วัดของ KM ต้องมีเป้าหมายเดียวกับองค์กรหรือวิสัยทัศน์ขององค์กรหรือไม่
อะไร (what)
ตัวชี้วัดมีกี่แบบ ในกระบวนการ มีการเปรียบ Input Process Output
กระบวนการฝังในกระบวนการทำงาน
วัดยาก ทัศนคติความพึงพอใจของบุคคลากร กิจกรรม
Output -productity ระยะเวลา คุณภาพ การส่งมอบ
Outcome บรรลุเป้าหมายขององค์กร Stakeholders
Process Sytem การสร้างคุณค่าให้ Stakeholdersกระบวนการอย่างไรที่มี Imprace ต่อกระบวนการ KM
จำนวน COFS
จำนวนสมาชิก
K capture
จำนวนผู้เข้าร่วม
ความพึงพอใจของสมาชิก
When
จะใช้ตัวชี้วัดแต่ละแบบเมื่อใด
จะมีช่วงการใช้ไม่เหมือนกัน
ดร.บุญดี บุญญากิจ
วัดผลทุกขั้นตอน (ระบบ)
Input
Process
Output
Outcome
 วัดเป้าหมายสุดท้าย วัดความพึงพอใจของ Stakeholders
Who
ใครละจะใช้การวัด
-CEO CKO วัด Output Outcome
-Km TGRM Process system
-กิจกรรม พฤติกรรม ความพึงพอใจ
How
เก็บอย่างไรควรจะเก็บแบบไหน
-Qualitative
-สัมภาษณ์
-แบบสอบถาม
-Qualtitative
 จะวัดอะไรเลือกให้เหมาะสมผู้ใช้นั้นเป็นผู้เลือกใช้ในฐานะเป็น เช่น CKO CEO
สรุป KM เริ่มเป้าหมาย ใครจะใช้ผล Indentifile ตัวชี้วัด ผลนำไปใช้ และนำผลปรับแผนการทำ KM
ตัวชี้วัดอะไรก็ตาม สิ่งที่วัดนั้นมีความหมาย

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
การสร้างตัวชี้วัดและการประเมินเพื่อการพัฒนา
การดำเนินการแยกเป็น ๓ หัวข้อ
๑.ความสำคัญ ความสัมพันธ์ การประเมิน พัฒนาองค์กร
๒.เราทำอะไรไปบ้างแล้ว
๓.
KM เป็นอย่างไร
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก กรณีของ ม.นเรศวร โดยแต่ละมาตรฐานจะวัดกระบวนการ ผลลัพธ์ ผลกระทบ น้ำหนักในกรให้คะแนน
โดยกล่าวถึงมาตรฐาน ๕ ด้าน การพัฒนาองค์กรและบุคลากร
ตัวบ่งชี้ เช่น
๑.การพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
๒.การพัฒนาบุคลากร ไปประชุม สัมมนา

๓.ตัวบ่งชี้ระบบ ICT
อ.วิบูลย์  วัฒนาธร

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
สิ่งที่เรามีอยู่แล้ว
กรอบประเมินผลการปฏิบัติภาคราชการของส่วนราชการ
ระดับความหรือเทียบเท่า
-        โดยมีมติที่ ๔ มติการพัฒนาองค์กร
การบริหารความรู้ในองค์กร
การจัดการสารสนเทศ
ช่วงที่ ๓
KM สัมฤทธิ์ของการทำงานดีขึ้นหรือไม่
-พัฒนาคนและองค์กรให้เก่งขึ้น ดดยต้องใช้ความรู้จากสภาพจริงที่ตนเองเป็นอยุ่
แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร
-ในตัวคน
-เอกสาร
-ICT
ช่องทางการถ่ายทอดความรุ้
-ประสบการณ์โดยตรง ๕๒ เปอร์เซ็นต์(เป็นความรู้ที่สำคัญ) ดังนั้นกิจกรรมจะเน้นที่การปฏิบัติ

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
การจัดการความรู้ที่ดี
-        ผลสัมฤทธิ์ดี จะมีหน่วยงานมาประเมินผลสัมฤทธิ์เช่นเกษตร สตง.สทธ ฯลฯ
ตัวอย่าง
ตัวอย่างบ่งชี้ที่ดี เช่น
๑.มีการนำผลสัมฤทธ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

๒.มีการบันทึก
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ เช่น
ผู้นำ   บรรยากาศ

เกณฑ์การตัดสิน
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ๕ ระดับ เพื่อนำมาวัด
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
-มีปัญหาในการวัดในเรื่องการพัฒนาคุณภาพในการประสบการณ์ที่ผ่านมาของการพัฒนาคุณภาพ
อ.อนุวัฒน์  ศุภชุติกูล
เป้าหมายที่ชัดเจน
-การประเมินและบอกภาพรวมของเป้าหมายการประเมิน Qualitative จะเห็นได้ชัดว่าในระยะเริ่มต้นช่วยทีมงานต่าง ๆ คิดตัวชี้วัดที่มีความลำบาก เช่น ผู้ป่วย เอดส์ การประเมินครอบการยอมรับ จะมีความยากลำบากในการแปลงความรู้สึกแต่เราสามารถแปลงความรู้สึกมาสู่การแปลผลได้ โดยการจับใส่ เกี่ยวกับตะกร้าแยกกลุ่มที่มีความแตกต่างกัน เช่นระดับการมีส่วนร่วม
เมินเฉย  ให้ทำอะไรก็ทำ  ค้นหาตัวเอง คิดทำเอาเอง

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
แนวทางหรือหลักการในการตั้งตัวชี้วัด
-        ปัญหาหลักของระบบการวัดคือ เราไม่สามารถวัดปรากฏการณ์ทางสังคมได้ไกล้เคียงความจริงเช่นการวัดแบบวิทยาศาสตร์ อีกทั้งถูก manipulate ได้ง่าย
วัดเพื่ออะไร
ไม่ใช่วัดเพื่อการจัดการควบคุมไม่ใช่วัดเพื่อคุยโว
คำตอบ วัด
KM เพื่อเรียนรู้ สร้างจากคนทำงาน ไม่ใช่เพื่อการให้รางวัล
อ.อนุวัฒน์  ศุภชุติกูล
กิจกรรมการทบทวนคุณภาพการทำงาน
-กิจกรรมการทบทวนเป็นเครื่องมือที่จะสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอยู่แล้ว จะทำใหมีความรู้พาะบุคคลได้นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
-ได้กำหนดให้เป็นกิจกรรมการทบทวน ทำกิจกรรมเป็นประจำ
-การประเมินจะต้องมีการกำหนด ๑.มีการทบทวน ๒.ครอบคลุมเป้าหมาย ๓.ได้มาตรการป้องกันที่ดี ๔.มีการสื่อสารเข้าใจ ๕ นำมาปฏิบัติ
โดยแต่ละการประเมินจะได้เกณฑ์น้ำหนัก ๕ ระดับ ตัวชี้วัดที่เป็นไปได้สำหรับการประเมิน การทบทวน การดูแลผู้ป่วยข้างเตียง
-จำนวนครั้งของการทบทวนต่อสัปดาห์
-จำนวนผุ้เข้าทบทวน
-จำนวนผุ้ป่วยที่ได้รับการทบทวน

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
การวัดเราคำนึงถึงอะไร
-        ระดับการปฏิบัติ
-        ความพึงพอใจ
-        ความสัมพันธ์
อ.อนุวัฒน์  ศุภชุติกูล
ตัวชี้วัดขององค์กร
พันธกิจ   ด้านผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ ด้านองค์กร หรือวัดเป้าหมายในทุกระดับ
KM อยู่ตรงไหน อยู่ที่ระบบ
เริ่มต้น KM อยู่ที่ไหน ทำอะไร เช่น KM ห้องคลอด เจาะเรื่องผุ้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงในผู้ป่วยมาตลอด สรุป KM การพัฒนาไปสุ่การเรียนรุ้เรื่องอะไร
การใช้ BSC มาใช้จัด KM ทั้ง ๔ มิติ
๑.มิติการเรียนรู้ ๒.ด้านลุกค้า
มีความสัมพันธ์กับลูกค้าที่ดี เพื่อใช้ Km สร้างคุณค่าที่ดี เช่น ภาคเอกชน ของการดูแลลุกค้า Call center

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
Clinical tracerแกะรอยการดุแลผู้ป่วยรายโรค
๑.      ตามรอยกระบวนการพัฒนา
๒.    ตามรอยกระบวนการดูแลผู้ป่วย
๓.    ตามรอยระบบอื่นที่เกี่ยวข้อง
นำข้อมูลพัฒนาดูแลผู้ป่วย
PDCA
การทำต้องมีเป้าหมาย เช่น ทำให้องค์กรทำงานได้ดีขึ้นบริบทคือสถานการณ์ที่เป็นจริง  เช่น องค์กรต้องการความรู้อะไร คนเรามีความรู้อยู่เท่าไร โดยใช้ Core Value เป็นตัวขับเคลื่อน
การวัดต้องมีความชัดเจนเรื่องเป้าหมาย

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
เกณฑ์การประเมินบันไดขั้นสอง
การวิเคราะห์โดยโอกาสการพัฒนา
๑.      การทบทวนไม่สม่ำเสมอ
๒.    การทบทวนต่อเนื่อง เกิดการเชื่อมดยงในระบบ ซึ่งเป็นตัวอย่างของการพัฒนาคุณภาพ

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
การวัดการทำ KM
-        Plan
-        Start-upphase
-        Pilot project
-        วัดเชิงปริมาณเพื่อพิสูจน์คุณค่าของ KM

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล

คลังความรู้ ( Knowledge    Assets )

ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
-        -       

  
Discussion
อ.บุญดี                        -ตัวชี้วัดเรื่องวัฒนธรรม ความไว้วางใจ วัดโดยใช้ Assessment เป็นงานวิจัยเพื่อนำมาทำนาย
อ.อนุวัฒน์        -ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพสามารถนำเรื่องความอึดอัดความไม่สบายใจ และนำมารประเมินแบบสอบถาม หาระดับของแต่ละคน
อ.วิบูลย์           -ตัวชี้วัดขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อม บริบท
อ.ประพนธ์      -วัดความมีความสุขในงาน ความพึงพอใจ  อัตราการลาออก
อ.อนุวัฒน์        -สรุปตัวชี้วัด ๐ (ศูนย์) ถ้าเป็นตัวชี้วัดที่มีความรุนแรงสูงยังคงต้องวัดเพื่อเป้าติดตาม
อ.อภิชาติ         -ตัวชี้วัดมีระดับ Macro Micro
                        Macro ระดับองค์กร   Micro ในระดับงาน แต่ต้องสอดคล้องกับระดับ Macro เราดูตัวชี้วัดเพื่อประเมินตัวเราว่าอยุ่ในระดับใด และต้องมองดุว่ามาตรฐานของการพัฒนาคุณเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ถ้าองค์กรจะเป็นเลิศ    ตอบมาตรฐาน
                                    ตอบความเป็นเลิศ เครื่องชี้วัด อีกจุดที่ต่างจากมาตรฐานโดยสิ้นเชิง
ถ้าต้องมองดูว่าเรื่องตัวชี้วัดเราต้องรู้ว่าเราเป็นใคร เช่น คุณ CKO คุณอำนวย คุณกิจ จะต้องมีตัวชี้วัดที่ต่างกัน

หมายเลขบันทึก: 8653เขียนเมื่อ 2 ธันวาคม 2005 19:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 23:16 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท