ตารางตรวจสอบเหตุผลสัมพันธ์ของวิทยานิพนธ์


ให้นักศึกษากรอกงานวิทยานิพนธ์ของตนตามแบบฟอร์มนี้ และloadขึ้นชั้นเรียน

นักศึกษา copy ตารางนี้ไปทำกับงานวิจัยของตนเอง แล้วส่ง emailมาถึงอาจารย์ ที่ [email protected]

(เลื่อนลงไปดูแบบฟอร์มข้างล่าง)

การตรวจสอบเหตุผลสัมพันธ์ -บทที่1      

ชื่อเรื่อง
วัตถุประสงค์การวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
             

                                                                                                                                                                          
การปรับปรุงกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า
ด้วยวิธีเทียบรอย:กรณีศึกษาบริษัทเคาน์เตอน์เซอร์วิส ประเทศไทย
 
1.เพื่อออกแบบกระบวน การจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า  ด้วยวิธีเทียบรอย
2.เพื่อศึกษาคุณภาพของกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า    
 
1.WHAT
     กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน  ประกอบด้วย (การรับข้อร้องเรียน การจำแนก การแก้ไข การป้องกัน และการแจ้งผล)
2.WHO
     ประชากรที่วิจัย ได้แก่  
3.WHERE
     พื้นที่ที่ทำวิจัย ได้แก่ 
4.WHEN
    ระยะเวลาที่ทำวิจัย ตั้งแต่
5.WHOM
   หน่วยงานที่ใช้เป็นคู่เทียบ ได้แก่ 
1.การออกแบบกระบวนการหมายถึง  (การปรับประบวนการเดิมให้สอดคล้องกับกระบวนการของบริษัทคู่เทียบ)
2.การจัดการ ข้อร้องเรียน หมายถึง
3.ลูกค้าหมายถึง
4.วิธีเทียบรอย หมายถึง
5.คุณภาพของกระบวนการจัดการข้อร้องเรียน หมายถึง  
(เขียนเป็นนิยามปฏิบัติการ และตรงกับข้อสรุปจากบทที่2)
1.ได้กระบวนการที่เป็น best practice  
2.ได้กระบวนการที่ออกแบบใหม่
3.ได้วิธีการออกแบบกระบวนการ
   


 

การตรวจสอบเหตุผลสัมพันธ์ –บทที่2

ชื่อเรื่อง
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทฤษฎี
งานวิจัย
กรอบความคิด

การปรับปรุงกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า
ด้วยวิธีเทียบรอย:กรณีศึกษาบริษัทเคาน์เตอน์เซอร์วิส ประเทศไทย
1.เพื่อออกแบบกระบวนการจัดการ      ข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า  ด้วยวิธีเทียบรอย
2.เพื่อศึกษาคุณภาพของกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า    
1 กระบวนการ
2.การออกแบบกระบวนการ
3.กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน
 ข้อสรุปที่นำมาใช้
4,วิธีเทียบรอย
5.วิธีการเทียบรอย
6.ขั้นตอนการเทียบรอย         ข้อสรุปที่นำมาใช้
7.คุณภาพ                                           8.คุณภาพของกระบวน                  9.วิธีวัดคุณภาพของกระบวน     
ข้อสรุปที่นำมาใช้
งานวิจัยเกี่ยวกับกระบวนการจัดการข้อร้องเรียน            ข้อสรุปที่นำมาใช้


งานวิจัยเกี่ยวกับการเทียบรอย
ข้อสรุปที่นำมาใช้
งานวิจัยเกี่ยวกับการวัดคุณภาพข้อร้องเรียน                        ข้อสรุปที่นำมาใช้

1.ตัวแปรต้น
กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน
2.ตัวแปรตาม
คุณภาพของกระบวนการจัดการข้อร้องเรียน


การตรวจสอบเหตุผลสัมพันธ์ –บทที่3

ชื่อเรื่อง
วัตถุประสงค์
วิธี/แบบแผน
ประชากร
เครื่องมือการวิจัย
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้

การปรับปรุงกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า
ด้วยวิธีเทียบรอย:กรณีศึกษาบริษัทเคาน์เตอน์เซอร์วิส ประเทศไทย
1.เพื่อออกแบบกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้าด้วยวิธีเทียบรอย
2.เพื่อศึกษาคุณภาพของกระบวนการจัดการข้อร้องเรียนแก่ลูกค้า    
การวิจัยปฏิบัติการ
แบบสองกลุ่มวัดครั้งเดียว
-------------------
(1)กรณีศึกษา
       X—O1
(2)คู่เทียบ
       C—O2
--------------------
1.ประชากร ประกอบ ด้วย
  1.1_____ ได้แก่____ จำนวน___คน
 1.2_____ ได้แก่____ จำนวน___คน
2.กลุ่มตัวอย่าง ประกอบ ด้วย
  1.1_____ ได้แก่____ จำนวน___คน
 1.2_____ ได้แก่____ จำนวน___คน
1.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบ ด้วย
 1.1_____ (อธิบายจุดมุ่งหมายการใช้ ส่วนประกอบ ตัวอย่าง )
 1.2_____ (อธิบายจุดมุ่งหมายการใช้ ส่วนประกอบ ตัวอย่าง )
2เครื่องมือที่ใช้ปรับปรุงคุณภาพ.ประกอบ ด้วย
2.1_____ (อธิบายจุดมุ่งหมายการใช้ ส่วนประกอบ ตัวอย่าง )
 2.2_____ (อธิบายจุดมุ่งหมายการใช้ ส่วนประกอบ ตัวอย่าง )
 
1.ขั้นตอนการออกแบบ
1.1(ตามขั้นตอนการเทียบรอย) 
1.2,
1.3.
1.4.
2.ขั้นตอนการศึกษาคุณภาพของกระบวนการ
2.1.(ตามแบบแผนการวิจัย)
2.2
2.3.
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
1.
2.
2.ข้อมูลเชิงคุณภาพ
1.
2.
 
1.การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
2.ค่า IOC
(ใส่สูตรและเกณฑที่ใช้)


 
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 8047เขียนเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2005 07:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 14:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท