Prof. Vicharn Panichเขียนเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2548 13:39 น. ()
แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2555 14:06 น. ()
โรงเรียนชาวนาระดับมัธยม (๒๑)
นักเรียนโรงเรียนชาวนาต้องอ่าน “ตำรา”
ด้วยนะครับ
จะเห็นว่าเอกสารเผยแพร่วิชาการแบบง่ายๆ
ของทางราชการมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักเรียนชาวนาอย่างยิ่ง
เอกสารอ่านเสริม
|
เอกสารชุดที่ 1 จากวารสารผลิใบ
ฉบับประจำเดือนมีนาคม 2546
เรื่องคุณภาพของน้ำหมักชีวภาพ
|
|
เอกสารชุดที่ 2 จากวารสารผลิใบ
ฉบับประจำเดือนเมษายน 2546
เรื่องปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์ |
|
เอกสารชุดที่ 3 จากวารสารผลิใบ
ฉบับประจำเดือนตุลาคม 2547
เรื่องฮอร์โมนไข่เร่งการออกดอกของพืช (1)
|
|
เอกสารชุดที่ 3 จากวารสารผลิใบ
ฉบับประจำเดือนตุลาคม 2547
เรื่องฮอร์โมนไข่เร่งการออกดอกของพืช (2)
|
|
เอกสารชุดที่ 4 จากวารสารผลิใบ
ฉบับประจำเดือนตุลาคม 2547
เรื่องการผลิตปุ๋ยหมักฟางและตอซังข้าว (1)
|
|
เอกสารชุดที่ 4 จากวารสารผลิใบ
ฉบับประจำเดือนตุลาคม 2547
เรื่องการผลิตปุ๋ยหมักฟางและตอซังข้าว (2)
|
|
เอกสารชุดที่ 5 วารสารกสิกร
ฉบับประจำเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2547
เรื่องเลิกเผาฟางข้าวกันได้แล้ว (1) |
|
เอกสารชุดที่ 5 วารสารกสิกร
ฉบับประจำเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2547
เรื่องเลิกเผาฟางข้าวกันได้แล้ว (2) |
|
เอกสารชุดที่ 5 วารสารกสิกร
ฉบับประจำเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2547
เรื่องเลิกเผาฟางข้าวกันได้แล้ว (3)
|
|
เอกสารชุดที่ 5 วารสารกสิกร
ฉบับประจำเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2547
เรื่องเลิกเผาฟางข้าวกันได้แล้ว (4)
|
นี่เป็นเพียงตัวอย่างนะครับ
นักเรียนชาวนาบางคนอาจฟังทีวี ฟังวิทยุ
หรืออ่านนิตยสารอื่นๆ ก็ถือว่าเป็นแหล่งความรู้แจ้งชัด (Explicit
Knowledge) จากภายนอก
สำหรับให้นักเรียนชาวนาได้นำมาใคร่ครวญ และปรับปรุง
แล้วทดลองใช้
อันจะนำไปสู่การสร้างความรู้จากการทดลองปฏิบัติต่อไป
เป็นวงจรไม่รู้จบ
วิจารณ์ พานิช
๒๔ สค. ๔๘
ความเห็น
ยังไม่มีความเห็น