ระบบสารสนเทศ ภาพทางการแพทย์ (Medical Imaging informatics)


Medical Imaging informatics

https://tinyurl.com/2ee35vf5

 

การบันทึกข้อมูลทางการแพทย์ ในยุคเดิมเป็นการจดบันทึกด้วยลายมือ พิมพ์ตัวอักษร และรหัส Text & Coding

เมื่อมีเครื่องบันทึกเสียง และเครื่องแปลงสัญญาณต่างๆ จึงมีการบันทึกเสียงและสัญญาณ Sound & Signal

สัญญาณต่างๆ จากร่างกาย ถูกแปลงเป็นรูปกราฟ เช่นกราฟคลื่นหัวใจ คลื่นสมอง

ภาพอวัยวะต่างๆในร่างกาย มีจิตรกรวาดเป็นภาพสเก็ตช์ ภาพลายเส้น และลงสีให้ใกล้เคียงกับของจริง

ตำรากายวิภาคศาสตร์ Eduard Pernkopf แพทย์ชาวออสเตรีย เป็นภาพวาดที่เหมือนจริงมาก

https://tinyurl.com/bddjb2n3

นายแพทย์ Frank Netter (1906-1991) ศัลยแพทย์แห่งรัฐนิวยอร์ค สหรัฐ ผู้ฝากฝีมือวาดภาพผู้ป่วย อวัยวะต่างๆที่เป็นโรค รวบรวมเป็นตำราหลายเล่ม เป็นตำนานของศาสตร์ด้านเวชนิทัศน์ (Medical Illustration)

https://tinyurl.com/47c86jyp

https://tinyurl.com/4stucrs4

ต่อมาเป็นยุคการบันทึกภาพ ด้วยกล้องถ่ายรูป และการค้นพบเอกซเรย์

ภาพเอกซเรย์ ใช้เป็นเครื่องมือวินิจฉัยโรค และติดตามการรักษา มีวิวัฒนาการการตรวจทางรังสีวิทยา ใช้สารทึบแสง และเครื่องมือที่สามารถตรวจได้รายละเอียดมากขึ้น คือ Computer tomography scan (CT Scan) ตัดภาพร่างกายโดยโฟกัสให้เห็นชัดในระดับความลึกในหลายมิติ และการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Magnetic Resonance Imaging หรือ MRI

ปัจจุบันภาพถ่ายเอกซเรย์ที่เป็นแผ่นฟิล์ม ถูกแทนที่ด้วยระบบดิจิทัล มีการกำหนดมาตรฐานของภาพ และวิธีการเก็บไฟล์ เพื่อการค้นหา และแสดงผล

การตรวจทางการแพทย์ที่มีการบันทึกภาพ ได้มีวิวัฒนาการเป็นระบบดิจิทัลเช่นเดียวกัน เช่น ภาพคลื่นหัวใจ คลื่นสมอง ภาพจากกล้องจุลทรรศน์ ในการตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา ภาพการส่องตรวจด้วยกล้อง ในอวัยวะต่างๆ (Endoscope) เช่นระบบทางเดินอาหาร ตา หู คอ จมูก และภาพถ่ายโรคผิวหนัง ใช้ระบบมาตรฐานภาพ และวิธีการเก็บไฟล์เช่นเดียวกัน

เมื่อภาพทางการแพทย์มีจำนวนมากขึ้น จึงเกิดการค้นคว้าวิจัยเพื่อสร้างระบบประมวลผล และช่วยอ่านแปลผล

--------------------------------------

1 Digital imaging in radiology ภาพดิจิทัลทางรังสีวิทยา

https://tinyurl.com/mr36p3wy

ภาพจาก https://www.ahu.edu/blog/advances-in-digital-radiography

1.1 เว็บไซท์ ข้อมูลรังสีวิทยา ของสมาคมรังสีวิทยา แห่งทวีปอเมริกาเหนือ Radiological Society of North America (RSNA) 

https://www.radiologyinfo.org/en/article-index

1.2 Picture Archiving and Communication System (PACS) Radiology

https://tinyurl.com/48vecxw2

1.3 Digital Imaging and Communications in Medicine (DICOM) Radiology

https://tinyurl.com/3uacjddb

1.4 HL7 FHIR Imaging study

https://www.hl7.org/FHIR/imagingstudy.html

1.5 DICOM Imaging Modalities

https://dicom.nema.org/medical/dicom/current/output/chtml/part16/sect_CID_29.html

1.6 DICOM Service Classes

https://dicom.nema.org/medical/dicom/current/output/chtml/part04/sect_B.5.html#table_B.5-1

1.7 Radiological Society of North America (RSNA) RadLex radiology lexicon

https://www.rsna.org/practice-tools/data-tools-and-standards/radlex-radiology-lexicon

1.8 RadLex Playbook

http://playbook.radlex.org/playbook/SearchRadlexAction

1.9 HL7 FHIR Media

https://www.hl7.org/FHIR/media.html

1.10 Media Modality

https://www.hl7.org/FHIR/valueset-media-modality.html

1.11 Imaging view ใช้รหัส SNOMED CT

https://www.hl7.org/FHIR/valueset-media-view.html

1.12 HL7 FHIR Diagnostic report รายงานผลการตรวจทางรังสีวินิจฉัย

https://www.hl7.org/FHIR/diagnosticreport.html

-------------------------------------------

2 Digital imaging in pathology ภาพดิจิทัลทางพยาธิวิทยา

https://tinyurl.com/nthe8dmd

ภาพจาก https://specialistdirectinc.com/digital-pathology-en/digital-pathology-the-future-of-pathology/

2.1 PACS Digital Pathology

https://tinyurl.com/ct6j6xc5

2.2 DICOM Pathology

https://tinyurl.com/3npfc8jj

-------------------------------

3 Digital imaging in ophthalmology ภาพดิจิทัลทางจักษุวิทยา

https://tinyurl.com/4bupavtp

ภาพจาก https://felthameyecarecentre.co.uk/eyecare/oct-retinal-digital-imaging/

4 Digital imaging in endoscopy ภาพดิจิทัลจากกล้องส่องตรวจอวัยวะ

https://tinyurl.com/3t8eycjk

ภาพจาก  https://www.nature.com/articles/s41598-019-50567-5

4.1 Endoscopy work flow 

https://tinyurl.com/ms5hjr7j

5 Digital imaging in dermatology ภาพดิจิทัลโรคผิวหนัง

https://tinyurl.com/eshas6at

ภาพจาก https://www.nzdoctor.co.nz/article/educate/practice/what-does-quality-care-people-melanoma-look-new-zealand

6 Medical image processing การประมวลผลภาพทางการแพทย์

https://tinyurl.com/yck5kb5c

 

 

หมายเลขบันทึก: 711718เขียนเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2023 14:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2023 22:34 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท