การบริหารอารมณ์


เหตุที่ทำให้เกิดอารมณ์ ท่านกล่าวว่าเกิดจากอายตนะ 6 อายตนะ (อ่านว่า อายะตะนะ) แปลว่า ที่เชื่อมต่อ, เครื่องติดต่อ หมายถึงสิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ 1. อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้าง เรียกว่า อินทรีย์ 6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะภายนอก 2. อายตนะภายนอก หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่า อารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับอายตนะภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียง กลิ่นคู่กับจมูก รสคู่กับลิ้น โผฏฐัพพะ คู่กับการได้สัมผัส ถูกต้อง ด้วยกาย อายตนะภายนอกนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อารมณ์ เมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า สัมผัส รู้ว่ามีการเห็น เรียกว่าวิญญาณ เกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า เวทนา เราต้องบริหารอารมณ๋ ฉลาดทางอารมณ์ และเฉียบคม ทางปัญญา

การบริหารอารมณ์

 

การบริหารอารมณ์

ดร. ถวิล  อรัญเวศ

          จิตใจของคนเรามีธรรมชาติ นึกคิดไปต่าง ๆ นานา ตาม

ประสาของจิต มีทั้งอารมณ์ดี อารมณ์ร้าย อารมณ์รัก อารมณ์

กำหนัด อารมณ์โกรธ อารมณ์อิจฉาริษยา  เป็นต้น ดังนั้น ทาง

พุทธศาสนาสอนเราให้ฝึกจิต  เพราะจิตที่ฝึกดีแล้วจะนำ

ประโยชน์สุขมาให้

          นอกนั้น จึงเตือนให้เราระมัดระบวังไฟ 3 อย่าง

ราคัคคิ  ไฟคือราคะ ความกำหนัด เพราะถ้ายับยั้งใจไม่ได้โอกาส

ที่จะทำผิดพลาดมีมาก เช่น ไปข่มขืนกระทำชำเรา ล่วงละเมิด

ทางเพศ เป็นต้น  โทสัคคิ  ไฟคือโทสะ ความโมโหโกรธง่าย

ความอาฆาตพยาบาท บางคนถึงกับพูดว่า “แค้นต้องชำระ”

แทนที่จะให้อภัย มีเมตตา บุญต้องตอบแทน แค้นต้องให้อภัย

ทำนองนี้ และโมหัคคิ ไฟคือความลุ่มหลง เช่น หลงในเสน่ห์

ความสวยงาม หลงในคำพูด เป็นต้น

          เหตุที่ทำให้เกิดอารมณ์ ท่านกล่าวว่าเกิดจากอายตนะ 6  อายตนะ (อ่านว่า อายะตะนะ) แปลว่า ที่เชื่อมต่อ, เครื่องติดต่อ หมายถึงสิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ

1.  อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้าง

เรียกว่า อินทรีย์ 6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะภายนอก

2. อายตนะภายนอก

หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่าอารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับอายตนะภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียงกลิ่นคู่กับจมูก รสคู่กับลิ้น โผฏฐัพพะ คู่กับการได้สัมผัส ถูกต้อง

ด้วยกาย        อายตนะภายนอกนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อารมณ์ เมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า สัมผัส รู้ว่ามีการเห็น เรียกว่าวิญญาณ เกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า เวทนา

 

 

การบริหารอารมณ์

        การที่จะบริหารอารมณ์ หรือบริหารจิตให้ผ่อนคลาย ไม่

เครียด มีจิตเบิกบาน ผ่องใสนั้น สุดแท้แต่จริตของแต่ละคน

คงไม่เหมือนกัน อาจจะขึ้นอยู่กับ  เพศ วัย หรืออายุ  แต่ขอ

ยกตัวอย่าง


 

1.  ได้ดูรูปสวย ๆ งาม ๆ  เช่น วิว ทิวทัศน์ธรรมชาติ สายน้ำ

น้ำไหล น้ำตก สายลม ลมพักต้นไม้ ไผ่ต้องลม ความงามของป่าไม้ ดอกไม้ที่สวยงาม ถ้าหนุ่ม ๆ ก็อาจจะได้ดูหญิงแต่งกายสวยงาม ในชุดต่าง ๆ ชุดวาบหวิว นุ่งน้อยห่อมน้อย สายเดี่ยว ฯลฯ

 

 

2. ได้ฟังเสียงไพเราะ เสนาะโสต

    เช่น เสียงเพลงอันไพเราะ เสียงเพลงสนุก เสียงเพลง

อาจจะมีหางเครื่องเต้นให้จังหวะด้วยทำนองนี้ เช่น

https://youtu.be/eQIx6vb4hiQ

https://youtu.be/umuS8dxVcYA

https://youtu.be/YKZ_khrXLh4

https://youtu.be/OO9-agZwdUM

https://youtu.be/kgYw-tlJbvo

https://youtu.be/dHKzrmwzX-M

https://youtu.be/7fHqpUUaEBE

https://youtu.be/iD33qpA9dSw

https://youtu.be/mYPyJt2hR1o

https://youtu.be/j1GMuAeWmUw

https://youtu.be/hSH1dU3TH7k

https://youtu.be/q51a-R_JTtg

https://youtu.be/UYkGgk2XIFI

https://youtu.be/31BOubVSXm0

https://youtu.be/904vZjjVhJU

https://youtu.be/j2oG7UXSC9o

 

https://youtu.be/ni2rvNEdyvo

https://youtu.be/s1sY0VQFaJw

https://youtu.be/XSYfEd90vw8

https://youtu.be/6-d3A7CJo-c

https://youtu.be/EcoUDRFLF7g

https://youtu.be/tf7f7X-SSnk

https://youtu.be/dZ0LTw1vpfU

https://youtu.be/ya3as22XpO0

https://youtu.be/e1BeXmMtI9E

https://youtu.be/eO0_dPxJs_g

https://youtu.be/SKQiB2fs-oI

 

 พึงใช้วิจารณญาณในการเลือกรับชมรับฟังให้เหมาะกับจริตของแต่ละคน

 

3.  ฟังคติธรรม คำคม ข้อคิด บทสวด ต่าง ๆ เช่น

https://youtu.be/KDR-Kgvv0V0

https://youtu.be/VpAxKDWGZ-0

https://youtu.be/nCFi9e7SWiw

https://youtu.be/1TWjTdIy4KI

https://youtu.be/jMJ_0zlOIZs

https://youtu.be/xntv4mQYX5s

https://youtu.be/GL-PQRqTJY8

https://youtu.be/ZHiNxCgLLAc

https://youtu.be/-sQOCkn9L4I

https://youtu.be/XL_7zFemj-k

https://youtu.be/v9mV58uqJxw

https://youtu.be/3pMriPstagI

https://youtu.be/7GjtrKxHSls

https://youtu.be/t6P43r3AAuQ

https://youtu.be/JZCI9FGRmzA

https://youtu.be/0ib7ybRK7UY

 

 

4. ปลีกวิเวกยามสงบ ทำสมาธิ

https://youtu.be/up_8I2bmEjs

https://youtu.be/dVHVutjmDUU

https://youtu.be/MtWLMhdf2mU

https://youtu.be/QMh2detRZoE

 

บริกรรมว่า  ทุกข์ อยู่ที่ถือ สุขอยู่ที่การรู้จักปล่อยวาง ทำตัว

ให้เบา ให้ผ่อนคลาย


 

5.  อื่น ๆ แล้วแต่จริตของเรา

อะไรทำแล้วทำให้ใจสบาย ก็ถือว่าดี

ขอให้บริหารอารมณ์ให้ได้ พึงฉลาดทางอารมณ์

และเฉียมคมทางปัญญา

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 703171เขียนเมื่อ 23 มิถุนายน 2022 11:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2022 14:56 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท