ปการันดูล ลำดวนดอกงาม


ปการันดูลหรือดอกลำดวนในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีจำนวนมากที่สวนร่มเกล้ากาลพฤกษ์ และส่วนหนึ่งในพื้นที่คณะเกษตรศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุติกุล เล่าว่า มีคนเคยถามหรือพูดว่าต้นลำดวนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไม้พื้นถิ่นที่มีอยู่เดิมแล้ว แต่จริง ๆ นั้นไม่ใช่ เพราะนำมาจากสวนสมเด็จ ฯ จังหวัดศรีสะเกษ  เป็นพันธุ์พื้นถิ่นของทางโน้น

ปะการันดูลหรือดอกลำดวน เป็นดอกไม้ที่มีความหมาย ทรงคุณค่าของชาวเขมรถิ่นไทย ใช้เปรียบหญิงสาวเป็นดอกลำดวน คล้ายคนลาว/อีสาน ที่

ปะการันดูล เป็นดอกไม้ที่ชาวเขมร มักจะยกขึ้นว่างาม เปรียบหญิงสาวดุจดอกลำดวน คล้ายคนลาว/อีสาน มักเทียบว่าหญิงสาวดุจดวงจำปา/ดอกลั่นทม ความงามของหญิงสาวงามพราวดุจดวงดอกไม้ประการันดูล จึงถูกถ่ายทอดผ่านบทเพลงกันตรึม เรื่องเล่า/ ตำนาน ในพื้นที่ "พนมเวง"

หมายเลขบันทึก: 689144เขียนเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2021 15:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2022 15:02 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท