ธรรมบรรยาย ...ตอนที่ ๒ (กำหนดทุกขเวทนา)


             เมื่อผู้ปฏิบัตินั่งเจิรญวิปัสสนากรรมฐานไปสักระยะหนึ่ง จะเกิดความรู้สึกเจ็บปวดตามร่างกายตรงบริเวณใดบริเวณหนึ่ง นอกจากนั้นก็อาจมีอาการเหน็บชา อาการคน ปวดแสบปวดร้อนตามส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ผู้ปฏิบัติพึตั้งสติกำหนดจดจ่ออยู่ที่ความรู้สึกนั้น จี้ลงไปที่ความรู้สึกดังกล่าวกำหนดรับรู้ตามสภาวะของความปวดน้นว่า "ปวดหนอๆ หรือ "เจ็บหนอๆ ชาหนอๆ คันหนอๆ ร้อนหนอๆ แสบหนอๆ" อย่างใดอย่างใหนึ่งตามความรู้สึกที่เป็นจริงในขะนั้น เมื่อผู้ปฏิบัติได้พยายาม อดทนพากเพียรตามกำหดรู้อาการเจ็บผวดนั้น มีสติจดจ่อกับสภวธรรมความเจ็บปวดนั้น ดดยกำหนดว่า "ปวดหนอ ปวดหนอ เช่นี้แล้ว ก็จะเกิดสมาธิที่มั่นคงในการปฏิบัติ สมธินั่นจะสามารถรอบงำความเจ็บปวดนั้นได้ เมื่อผุ้ปฏิบัติมีสมาธิมากเพียงพอที่ครอบงำความเจ็บปวดในระหว่างนั่งเจิรญวปัสสนากรรมฐานอยู่ได้ ก็จะก้าวหน้าในการปฏิบัติและสามารถบรรลุถึงวิปัสสนาญาณขั้นสูงขึ้นไปอีกได้

          ท่านสาธุชนทั้งหลาย ลักษณะที่ผุ้ปฏิบัติพยายามเอาสติตามจดจ่อกำหนดรู้เวทนา ความเจ็ฐปวดนี้ มักจะมี ๓ ประการด้วยกัน คือ 

          - การกำหนดโดยต้องการจะให้หาย คือต้องการที่ให้เวทนาคือความปวดนั้นหยไป

          - การกำหนดโดยประกอบด้วยความไม่พึงพอใจ ต้อการที่ข่มเวทนาือความปวดให้หายไปในทันที่ขณะทีนั่งอยู่

          - การกำหนดรู้เวทนาเพื่อรับรู้ลักษณะหรือสภาวธรรมทีแท้จริงของเวทนาคือความปวดนั้น

            การกำหนดทุกขเวทนาโดยต้องการจะให้หาย ความต้องการหรือความประสงค์จะให้ความปวดหายนั้น เป็นการประกอบด้วยความโลภอันเป็น โลภะ หรือ ตัณหาอย่างหนึ่ง อันที่จริงแล้วการปฏิบัติธรรเป็ฯการปฏิบัติเพื่อกำจัดกิเลส มิใช่เป็นการปฏิบัติเพื่อเพิ่มพูนกิเลสแต่อย่างใด ฉะนั้น กรกำหนดความปวดที่ประกอบด้วยความโลภ ต้องกรจะให้วมปวดหายไป จง จัดว่าเป็นวิธีปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง

         การที่ผู้ปฏิบัติต้องการจะให้ทุกขเวนานั้นหายไปซึ่งจัดว่าเป็นการประกอบด้วยความโลภนี้ ไม่ถูกต้องตามพุทธประสงค์ของพระพุทธองค์ ทั้งนี้เพราะพระพุทธองค์ทรงมีพระประสงจะให้ผุ้ปฏิบัติอดทนในการปฏิบัติธรรมและตามรู้ทุกขเวทนาที่กำลังเกิดขึ้นอยุ่ตามความเป็นจริง พระพุทธองค์ได้รัสไว้ในมหาสติปัฎฐานสูตรว่า "ทุกข วา เวทนํ เวทยามาโน ทุกฺขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ - ภิกษุย่อมกำหนดรู้ทุกขเวทนาว่ เรากำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ในขณะที่เกิดทุกขเวทนา" เพราะฉะนั้น ผุ้ปฏิบัติที่ประกอบด้วยความดลภ ต้องการจะใหทุกขเวทนาหายไปเช่นนี้ จะไม่ก้าวหน้าในการปฏิบัติเลย หากผุ้ปฏิบัติไม่ประกอบด้วยความโลภ แต่ประกอบด้วยอุเบกขา ความวางเฉยในเวทนาที่กำลังเกิดอยู่และเข้าไปกำหนดรู่วาทุกขเวทนานี้เกิดขึ้นตามเหตุปัจจัย หาใช่สิ่งที่เราจะสมาถบังคับบัญชาให้เกิดหรือบังคับบัญชาให้หายไปได้ เมื่อผุ้ปฏิบัติพยายามตามรู้สภาวธรรมคือความเจ็บปวดที่กำลังเกดขึ้นมา ที่กำลังเป็นไป หรือที่กำลังดับไปว่าเป็นไปตามเหตุปัจจัย เมื่อนั้นก็จะสามรถก้าวหน้าในการปิบัติธรรมได้

           กำหนดทุกขเวทนาดดยประกอบด้วยความไม่พึงอพใจ ต้องการทีจะข่มทุกขเวทนานั้นให้หายไป วิธีนี้ ก็จัดว่า ไม่ถูกต้อง เพราะผุ้ปกิบัติจะประกอบด้วย โทสะ ความดกรธ ที่ไม่พึงพอใจกับทุกขเวทนาที่กำลังเกิดขึนนั้น ขณะที่ผุ้ปกิบัตเิจริญสติปัฎฐานอยู่ สติจะต้องมีความต่อเหนือ่งและสม่ำเสมอ แต่หากประกอบด้วยโทสะอันได้แก่ความไม่พึงพอใจกับทุขเวทนาที่กำลังเกิดขึ้น จะเป็นเหตุให้สติขาดความต่อเนืองและไม่สม่ำเสมอ สติที่ไม่ต่อเนื่องนี้จะไม่เกื้อกุลต่อการปฏิบัติตามที่ควรจะเป็น การกำหนดทุกขเวทนาโดยไม่พึงพอใจกับทุขเวทนาและต้องการข่มเวทนาให้หายไปนั้นจัดว่าเป็นวิธีปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง จึงควรหลีกเลี่ยง แล้วพึงมสติจดจ่อตามรู้สภาวธรมอันเป็นลักษรพิเศษของทุกขเวทนาซึ่งเป็นลักษระที่ทนได้ยาก

           กำหนดรู้ทุกขเวทนาเพื่อรับรู้ลักษณะหรือสภาวะรรมเทีแท้จิรงของทุขเวทนา การกำหนดรู้สภาวะธรมหรือลักษระที่แท้จริงของทุกขเวทนาจัดว่าเป็นวิธีที่ถูต้อง เพราะคล้อยตามพระพุทธประสงค์ ทั้งนี้ ทุกขเวทนาหรือความรู้ึเป็นสภาวธรรมที่เกิขึ้นตามเหตุปัจจัย เาไม่สามารถจะบังับให้เกิดขึ้นได้และไม่สามารถที่จะทำให้เเวทนานั้นหายไปได้เลย แะั้น หน้าที่ของผุ้ปกบิัติจึงพึงตามกำหนดรู้อาการของเวทนานั้นตามความเป็นจริงท่านสาธุชนทั้งหลายจะได้สังเกตุว่ เวทนาที่เกดขึ้นมรในระหว่างนั่งเจริญวิปัสสนากรรมฐานนั้นมีลักษณะแตกต่างกันไปในแตละขณะ เมื่อกำหนดไปกล้วบางคร้งความเจ้ฐปวดอาจเพิ่มขึ้นบางครั้งอาจลดลง บางครั้งอาจหายไป หรือบางครั้งเมื่อหายไปจกบิรเวณหนึ่งแล้วก็อาจเกิดขึ้นใหม่ในจุดอื่นหรือบริเวณอื่นอีก อย่างไรก็ตาม ผุ้ปกิบัติพึงตามรู้ลักษระของความเจ็บปวด อันเป็นลักษระที่ทนได้ยากนั้นตามความเป็นจริง

         ระหว่างที่กำหนดรับรูุ้กขเวทนาในระยะแรกของการปฏิบติธรรมนั้น บางครั้งท่านสาธุชนทั้งหลยจะสังเกตได้ว่าทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นยังไม่รุนแรงมากนัก แต่เมื่อปกิบัติไปไ้สักระยะกนึ่งแล้ว บางขณะทันที่ที่ผุ้ปฏิบัติั่งเจริญวิปัสสนากรมฐาน พอหลักตาลงก็จะรู้สกว่าความเจ็บปวดเกิดขึ้นทันที่ และทวีความรุนแงมากขึ้นเรื่อยๆ แต่เมื่อลืมตาออกจากสมาะิ ความเจ็บปวดนั้นกลับเบบางหายไป ทั้งนี้ก็เพราะความเจํบปวดอย่างรุนแรงซึ่งเกิดขึ้นนั้นเกิดจาสาธิของผุ้ปกิบตเอง จิตว่าเป็นวิปัสสนาอย่างหนึ่ง เนื่องจาก ในขณะนั้นผู้ปฏิบัติได้เกิดปัญญหยั่งรู้ ลักษณะที่ทนได้ยาก "อันเป็นลักษระพิเศษ(สภาวะลักษณะ) ของทุกขเวทนา การที่ทุกขเวทนาได้ทวีคามรุนแรงขึ้นนี้ หาได้เป็นเพราะผุ้ปกิบัติั่งเป็นเวลานาน แต่เป็นเพราะผุ้ปฏิบัติสามารถรับรู้ลักษณะทีแท้จริงของทุกขเวทนา การที่่ทุกขเวนาได้ทวีความเจ็บปวดรุนแรงขึ้นอย่างมา อย่างไรก็ตาม ทุกขเวทนาดังกล่าวเกิดขึ้จตามเหตุปัจจัย มิใช่สิงที่ผู้ปฏิบัติสามารถบังคับบัญชาได้ หน้ที่ของผุ้ปฏิบัติคอกหนดรู้ทุกขเวทนานั้นตามความเป็นจริงปวดอยู่ อาจจะมีอาการเกร็ง  เช่นที่ขาหรือเอง ผุ้ปฏิบัติพึงผ่อนคายร่างกายด้วยกำกำหนดรุ้อาการนั้นว่า "เกร็งหนอๆๆ" จนกว่าจะู้สกผ่อนคลาย พึงจำไว้ว่าผ้ปฏิบัติไมีควรเกร็งร่างกายในการปฏิบัต นอกจากนั้น บางครั้ก็อาจเกิดความรูสึกเครียดในใจ เพราะไปเสพอารมณ์คือความปวด เป็นเหตุให้รู้สึดเครียดกับการที่ต้องกำหนดรู้ถึงอาการเจ็บปวดที่รุรแงนั้น ขณะนั้นพึงทิ้งอารมณ์ปวดไว้ก่อนแล้วไปกำหนดรู้อาการเครียดของจิตว่า "เครียดหนอๆๆ" จนกว่ากอาการเครียดนั้นจะดับไป แล้วพึงกลับมากำหนดรู้อการปวดต่อไป หรืออาจพยายามกำหนดเบาๆ ่า "ปวดหนอๆๆ" หรือ "เจ็บหนอๆๆ" แต่พึงจดจ่อลงไปที่อการเจ็บปวดนั้น นะยะแรกๆ ผุ้ปฏิบัติจะไม่สามารถรับรู้ได้ว่าอาการเจ็บปวดเกิดขึ้นตรจุดใด มกจะรุ้สกว่าปวดทั้งขาหรือปวดทั้งลำคอ ปวดทั้งแผ่นหลัง แต่หลังจากปฏิบัติไปไ้สักระยะหนึ่งแล้วจะเห็นว่าความเจ็บปวดนั้นทวีความรุนแรงมากขึน เมือผู้ปฏิบัติสามารถจดจ่อลไปที่อาการปวดนั้น จะเกิดสมาธิมาขึ้นจนสามารถรับรู้ได้ว่าอาการเจ็บปวดนั้นเกิดขึ้นตรงบริเวณใด เกิดขึ้นจุดเดียว สองจุดหรือสามจุด มีอาการที่ผิวหนัง ที่กล้ามเนื้อ ที่เส้นเอ็น ที่กระดูก หรือในเยื่อกระดูก ฯลฯ ผู้ปฏิบัติจึงพึงจดจ่อที่ความรุ้สึกเจฐปวด เหนํบชา หรือคันให้ชัดเจน ก็จะสามารถรับรู้ลักษระพิเศษของทุกขเวทนา(ลักษณะที่ทนได้ยาก) นั้นได้ และตอจากั้นก็จะสามาถครบอำทุกขเวทนาได้...http://www.sati99.com/index.ph...

หมายเลขบันทึก: 645772เขียนเมื่อ 18 มีนาคม 2018 13:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มีนาคม 2018 13:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท