ธรรมบรรยาย การกำหนดวิปัสสนากรรมฐานในอริยาบทนั่ง


          เจริญสุขท่านสาะุชนพุทธบริษัททั้งหย วันนี้อาตมาจะแสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับแนวทางการเจริญวปัสสนากรรมฐาน ว่าด้วยการกำหนดนังเจิญวิปัสสนา

           ผู้ปฏิบัติที่กำลังเจริญวิปัสนากรรมฐานอยู่ทุกคนล้วนประสงค์จะก้าวหน้าในการปฏิบัตะธรรมท่านที่ก้าวหน้าในการปฏิบ้ติธรรมอยู่แล้วก็ประสงค์จะบรรบุถึงคุณธรรมพิเศษในพระพุทธศาสนาเพราะฉะนั้น เพื่อความก้าวหน้าในการปฏืบัติธรรม และบรรลุถึงคุณธรรมพิเศษในพระพุทธศาสนา ผู้ปฏิบ้ติจึงควรเข้าใจแนวทางการเจริญวปัสสนาอย่างถูกต้อง

        ในการเจริญวิปัสสนากรรมฐานทั้ง ๓ อิริยาบท อาตามาจะอธิบายวิธีการกำหนดในขณะนั่งกรรมานเป็นเบื้องต้นก่อน วิธีการนั่งกรรมฐานที่อาตมาจะอธิบายนนี้เป็แนวทางที่ได้รับการสังสอนจากท่านอาจารย์มหาสี สยาดอ เจ้านำนักกรรมฐานประเทศพม่า แนทางนี้ท่านก็ได้ศึกษาจากครูบาอาจารย์ต่อๆ กันมา แรกที่เีียว ผุ้ปฏิบัติที่ประสค์จะปฏิบัติธรรมเพื่ออบรมจิตของตนพึ่งไปสู่สถานที่อันสงัด เพื่อให้ได้กายวิเวก ความวงัดกาย หากกายยังไม่สงัด ยังมีบุคคลพลุกล่าน มีเสียงรบกวนแล้ว จะไม่สามารถบรลุถึงจิตวิเวกความสงัดแห่งจิตได้เลย เมื่อผุ้ปฏิบติได้หลีกเร้นออกจากหมู่คณะไปอยู่สถานที่อันวิเวกไม่พลุกพล่านด้วยฝูงชนแล้ว ก็พึงนั่งกรรมฐานโดยตั้งกายให้ตรง 

       ท่านั่งนั้นมีอยู่หล่ายท่าทางด้วยกัน สำหรับบุคคลท่วไปก้อานั่งขัดสมาธิ หรือนั่งแบบเรียงเท่าโดยไ่ซ้อนเท้า (เป้นวิธีการนั่งกรรมฐนของชาวพม่า วิธีนี้ก่อให้เกิดวทนาน้อยในขณะนั่ง) สำหรบผูที่สุขภาพไม่ดีนักอาจเลือกนั่งบนเก้าอี่หรือนั่งในท่าที่สะดวกกับตนมากที่สุด เช่น ผุ้ที่นั่งพับเพียบแล้วรู้สกสะดวกดีก็พึงเลือกนั่งพับเพียยได้เช่นกัน ในขณะนั่งกรมฐานอยู่พึงตั้งกยตรง ไม่พงงอหลง งอลำคอหรือก้มศรีษะ พึงหลับตาลงเพาะผุ้ปฏิบัติจะต้องจดจ่ออยู่กับอารมณ์ภายในกายกับจิตของตนโดยไม่รับรู้อารมณืที่เป็นบัญญัตติภายนอก จึงไม่จำเป็นต้องลืมตาเพราะจิตของเาอาจจะไปรับรุ้อารมณืภายนอกทีเป็นบัญญัตเหล่านั้นแทน เื่อหลับตาลงแล้ว พึงเพ่งจิตจดจ่ออยุ่ที่อการเคลื่อนไหวของท้อง เมื่อหายใจเข้า-หน้าท้องจะมีอาการพองออกตามธรรมชาติ เมื่อหายใจออก-หน้าท้องก็จะมีอาการยุบลงตามธรรมชิิเนื่องจากอาการพองและอาการยุบนี้เป็นอาการเคลื่อนไหวที่สัมพันธ์กับลมหายใจ ผู้ปฏิบัติพึงหายใจตามปกติ ไม่ควรหายใจแรงหรือกลั้นหายใจไว้หรือกายใจให้ผิดไปจากธรรมชาิต ขณะที่บริกรรมว่า "องหนอ" คำว่า "พอง" นั้นจะยาวกว่าคำว่า "หนอ" กล่าวคือ พึงบริกรรมว่า "พอง.." จนกระทั่อาการพองสิ้นสุดลง จึงจะบริกรรมว่า "หนอ" หลังจากนั้น ขขณะที่หายใจออก หน้าท้องจะมีอาการยุบลงซึ่งเป็นอาการหย่อนลงของวาโยธาตุผู้ปฏิบติพึงจดจ่อกับอาการบุลึ่งเคลื่อนไหวจากระยะหนึ่งไปสู่ระยะหนึ่ง พึงตามรู้อาการยุบนี้ตั้งแต่เบื้องต้นจนถึงที่สุดโดยกำหนดว่า "ยุหนอ" การบริกรรมว่า "ยุบ.." พึงกำหนดให้ตรงกับอาการยุบซึ่งเคลื่อนไหวจากระยะหนึ่งไปสู่ระยะหนึ่ง พึงตามรู้อาการยุบนี้ตั้งแต่เบื้องต้นจนถึงที่สุดโดยกำหนดว่า "ยุบหนอ" การบริกรรมว่า "ยุบ.." พึงกำหนดให้ตรงกับอาการยุบที่ค่อยๆ เกิดขึ้น เมื่ออาการยุบสิ้นสุดจึงบริกรรมว่า "หนอ" 

          ระหว่างที่ตามรู้อาการพอง-ยุบอยู่นั้น ผุ้ปฏิบัติ ไม่พัใส่ใจต่อสัณฐานของห้อง พึงจดจ่ออยู่ที่อาการเคลื่อนไหวซึ่งเป็นสภาวะลักษณะ (ลักษณะพิเศษ)ของวาโยธาตุ เพราะอารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐานต้องเป็นอารมร์ท่เป็นสภาวะปรมัตถ์( สภาวะธรรมที่มีจริง) เท่านั้น ส่วนรูปร่างสัณฐานของท้องนั้นเป็นสมมติบัญญัติ อันประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ รวมกัน ทั้งหนัง เนื้อ ลำไส้ภายในท้อง  ซึ่งเราเรียกรวมกันด้วยบัญญัติว่า ท้อง วาโยธาตซึ่งเป็นสภาวะปรมัตถ์จึงเป็นอารมณ์กรรมฐานที่พึงกำหนดรู้ มีอาการหย่อนหรือตึง ขณะหายใจเข้ามีอาการตึงขึ้น ขณะหายใจออกมีอาการหย่อนลง อาการตึงขึ้น -หยอ่นลงนี้คือ ลักษณะพิเศษ (สภาวะลักษณะ)ของวาโยธาตุ...http://www.sati99.com/index.ph...

หมายเลขบันทึก: 645751เขียนเมื่อ 17 มีนาคม 2018 16:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มีนาคม 2018 16:57 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท