ต่อ มาตราการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ อย่สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศ ฉบับปี ศ.ส.2004


3. มาตรการส่งเสริมการลงทุนของต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว   มาตรการส่งเสริมการลงทุนของต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว ตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมและการคลุ้มครองการลงทุนอยู่ ส ป ป ลาว มีหลายมาตรการเช่นว่า  มารการส่งเสริมการลงทุนโดยกฎหมาย การให้สิทธิ และผลประโยชน์ต่อผู้ลงทุนต่างประเทศบางประการเช่น สิทธิ และผลประโยชน์เกี่ยวกับภาษีสุกากร  สิทธิและผลประโยชน์ที่ไม่ใช่ภาษีเป็นต้น     

3.1. การส่งเสริมการลงทุนโดยกฎหมาย          การส่งเสริมการลงทุนโดยกฎหมาย เป็นวิทีการส่งเสริมจากต่างประเทศที่สำคัญประเภทหนึ่งคือ การออกกฎหมายพิเศษมาให้สิทธิ และผลประโยชน์ต่างๆต่อคนต่างประเทศสำรับกฎหมายที่กำหนดสิทธิและผลประโยชน์ที่ได้กล่าวมาข้างบนนั้นแล้ว แต่ระประเทศจะมีการกำหนดไม่เหมือนกัน จะมีความแตกต่างกันไป แล้วแต่ความเหมาะสม ความต้องการ และสะภาพแวดล้อมของประเทศนั้นๆ บางประเทศก็ทำเป็นกฎหมายการลงทุน โดยทั่วไปได้มีการให้สิทธิ และผลประโยชน์ให้แก่คนต่างประเทศคือกับคนในชาติของตนตามกฎหมายฉบับเดียวกัน บางประเทศก็จะมีกฎหมายการลงทุนที่ใช้บังคับเฉพาะกับนักลงทุนต่างประเทศ และนักลงทุนภายในประเทศโดยแยกออกจากกันเป็นกฎหมายอันระฉบับที่แตกต่างกันเช่น ส ป ป ลาว นั้นในการให้สิทธิ และผลประโยชน์ต่อนักลงทุน โดยกฎหมายนั้นได้แยกออกจากกันอย่างจะแจ้งระหว่างนักลงทุนต่างประเทศกับนักลงทุนภายใน โดยจะให้สิทธิ พันธะ และผลประโยชน์ที่ต่างกัน แต่ในที่นี้โดยเฉพาะแต่การให้สิทธิ และผลประโยชน์ต่อนักลงทุนต่างประเทศเท่านั้น ซึ่งได้กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศอย่างระเอียดชัดแจ้งเช่นในมาตรา 12 ,13, 18 (ของกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริการลงทุนต่างประเทศ) รัฐบาลแห่ง ส ป ป ลาวส่งเสริมให้บุคคล และนิติบุคคลต่างประเทศเข้ามาลงทุนอยู่ใน ส ป ป ลาว บนพื้นถานหลักการต่างฝ่ายต่างได้รับผลประโยชน์นำกันและเคลื่อนไหวตามระเบียบกฎหมายของ ส ป ป ลาว ซึ่งสามารถดำเนินการผลิตธุรกิจในทุกแขนงธุรกิจ เว้นแต่ในบรรดากิจจะการที่แตะต้องถึงความสงบของชาติ หรือเป็นภัยต่อสพาบแวดล้อมธรรมชาติ ต่อสุขภาพ  ต่อวัฒนาธรรมหรือผิดต่อระเบียบกฎหมายแห่ง ส ป ป ลาว และนอกนี้ยังได้ให้การคลุ้มครองการลงทุนของนักลงทุนต่างประเทศ[1]          ด้วยเหตุนี้พักและรัฐบาลจึ่งได้มีมาตรการต่างๆเพื่อเป็นการส่งเสริมให้แก่การเข้ามาลงทุนของต่างประเทศด้วยรูปการต่างๆ โดยเฉพาะการรับประกันทางด้านกฎหมาย ซึ่งเป็นมาตรการต้นตอ ที่จะสามารถทำให้นักลงทุนต่างประเทศมีความมั่นใจในการเข้ามาลงทุนอยู่ภายใน ส ป ป ลาว ซึ่งกฎหมายต้นตอที่รัฐบาลใช้ให้เป็นแนวทาง ในการส่งเสริมการลงทุนของต่างประเทศนั้นคือ กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และการคลุ้มครองการลงทุนของต่างประเทศที่ได้ใช้ปี 2004 ในมาตรา4 ได้บัญญัติไว้ว่าทรัพย์สินและการลงทุนของผู้ลงทุนต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว จะถูกปกป้องอย่างเต็มส่วนด้วยระเบียบกฎหมายของ ส ป ป ลาวโดยจะไม่ถูกเก็บเกณฑ์ ไม่ถูกยึดรวมทั้งจะไม่ถูกโอนเป็นของรัฐ เว้นแต่หากมีความจำเป็นนำใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ ซึ่งผู้ลงทุนต่างประเทศจะได้รับค่าทดแทนคืนตามระระเบียบกฎหมาย[2] รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ว่ารัฐส่งเสริมการลงทุนของต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว สร้างสิ่งแวดล้อมอำนวยความสะดวกให้แก่การนำเอาทุน เทคโนโลยี และการคลุ้มครองที่ก้าวหน้า เข้าสู่ขบวนการผลิต ธุรกิจ และการบริการ ทรัพย์สิน และทุนที่ถูกกฎหมายของผู้ลงทุนอยู่ ส ป ป ลาวจะไม่ถูกเก็บเกณฑ์ ไม่ถูกยึด หรือโอนเป็นของรัฐ [3]           นอกนี้ยังมีกฎหมายอื่นๆที่เป็นการสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุนที่มีวัตถุประสงค์จะเข้ามาลงทุนอยู่ใน ส ป ป ลาวเช่น กฎหมายธุรกิจ กฎหมายแรงงาน กฎหมายล้มระลาย และกฎหมายอื่นๆที่จะกำหนดระบอบวิทีในการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ ที่มีความมุ้งหวังอยากจะเข้าลงทุนโดยตรงไม่ว่าจะเป็นการลงทุนขนาดเล็ก หรือ ขนาดใหญ่ก็ตาม   

3.2. การให้สิทธิ และประโยชน์ต่อผู้ลงทุน  การให้สิทธิ และผลประโยชน์แก่ผู้ลงทุนต่างประเทศจะได้รับสิทธิพิเศษ หรือ ผล ประโยชน์พิเศษจากกฎหมาย และนโยบายของรัฐบาลเพื่อจะทำอย่างไรให้มีการผลักดันลั่งรัฐให้มีการลงทุนของต่างประเทศเกิดขึ้น และเพื่อเป็นการทดแทนที่การลงทุนของต่างประเทศนั้นได้นำเอาผลประโยชมาให้ประเทศชาติ และประชาชน มีบางประเทศสิทธิที่ได้รับการลงทุนจากต่างประเทศจะมีกฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับการให้สิทธิ ผลประโยชน์ให้แก่นักลงทุนต่างประเทศไว้เฉพาะบางประเทศก็ไม่มีกฎหมายที่เกี่ยวกับการให้สิทธิ และผลประโยชน์เอาไว้เป็นการเฉพาะเจาะจง แต่จะเอาไว้ในกฎหมายอื่นๆเช่น กฎหมายภาษีสุกากร กฎหมายแรงงานและอื่นๆ แต่ ส ป ป ลาว ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศ   

3.2.1. การให้สิทธิ และผลประโยชน์ที่เกี่ยวกับภาษี  ซึ่งได้แก่การยกเว้น หรือลดภาษีสุกากรให้แก่นักลงทุนต่างประเทศ ทั้งนี้ก็เพื่อผลประโยชน์ในการส่งเสริม และชักชวนนักลงทุนจากต่างประเทศให้เข้ามาลงทุนอยู่ ส ป ป ลาว จึ่งเรียกว่า สิทธิและผลประโยชน์เกี่ยวกับภาษีสุกากรซึ่งเป็นเครื่องมืออันหนึ่งของรัฐในการส่งเสริมการลงทุนโดยทั่วไปแล้วการลงทุนของต่างประเทศจะได้รับนโยบาย ให้เสยภาษีอากรนำเข้า 1% ( หนึ่งส่วนร้อย) สำรับวัตถุอุประกร เครื่องจัก พาหานะการผลิต และการขนส่งที่จำเป็นเพื่อรับใช้การผลิตธุรกิจหรือก่อสร้างโครงการของตน มันจะเป็นประโยชน์หลายที่จะกำหนดลักษณะกิจกรรมการส่งเสริมการลงทุนโดยนำใช้รูปการ การให้สิทธิ และผลประโยชน์ทางด้านภาษี-อากรเพาะในการเข้ามาลงทุนของต่างประเทศนั้นจำเป็นต้องได้นำเข้าบรรดาอุประกรต่างๆเพื่อรับใช้เข้าในการผลิต เพาะว่าอุประกรบางอย่างก็ไม่สามารถหาได้ในประเทศ ที่ลงทุนย้อนเหตุผลหลายๆประการที่พาให้ต้องได้นำเข้าอุประกรที่จำเป็นบางอย่าง ซึ่งรัฐบาลจะมีการให้นโยบายต่างๆต่อผู้ลงทุนต่างประเทศที่เข้าลงทุนโดยถูกต้องตามกฎหมาย           ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และการคลุ้มครองการลงทุนของต่างประเทศได้กำหนดไว้ว่า: วัตถุดิบและผลิตพันธ์ คลึงสำเล็ดรูปที่นำเข้าเพื่อทำการปรุงแต่ง หรือประกอบเป็นผลิตพันธ์สำเร็จรูป เพื่อเปลี่ยนแทนสินค้านำเข้าได้รับการลดภาษีอากรนำเข้าตามนโยบายของรัฐบาล[4]               

 3.2.2. การและประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษีสุกากร  นอกจากการให้สิทธิ และผล ประโยชน์ทั่วไปเกี่ยวกับภาษี ยังมีอีกหลายรูปการของการให้สิทธิ และผลประโยชน์ ซึ่งมันมีความเกี่ยวพันธ์กับการให้สิทธิ และผลประโยชน์ทางด้านภาษีสุกากรเช่นว่า การให้สิทธิทางด้านการทูต และสิทธิต่างๆที่นักลงทุนต่างประเทศจะได้รับเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่การทำการผลิต เพื่อเป็นการส่งเสริม และโคษนาให้นักลงทุนต่างประเทศ ที่มีความสนใจที่จะมาลงทุนอยู่ ส ป ป ลาวด้วยความมั่นใจ และเต็มใจที่จะลงทุนอย่างจริง               

1. การอนุญาตเข้า-ออก ส ป ป ลาว  ในกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศ รัฐบาลแห่ง ส ป ป ลาวจะอำนวยความสะดวกให้แก่นักลงทุนต่างประเทศ และสมาชิกคอบคัว รวมทั้งวิชาการ เจ้าหน้าที่พะนักงานที่เป็นคนต่างประเทศของวิสาหกิจลงทุน จะได้รับความสะดวกในการขอวิชาเข้า-ออกหลายครั้ง และอาใสอยู่ดินแดนของ ส ป ป ลาว ในระยะยานตามความตกลงของรัฐบาล มีเงื่อนไขขอเอาสัญชาติลาวได้ตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติลาว[5]           ในการเข้ามาลงทุนไม่ว่าจะเป็นการเข้ามาลงทุนในรูปแบบใดก็ตามนั้นก็หลิกเว้นไม่ได้ ในเรื่องของการเข้า-ออกประเทศของนักลงทุนที่มีความจำเป็นต้องได้สัมพันธ์งานของตนอยู่ตลอดระยะเวลา และนอกนี้ก็ยังมีคอบคัวของนักลงทุนอีกที่ต้องการได้เดินทางไป-มา และเข้า-ออกประเทศ (ในกรณีผู้ลงทุนสมรถแล้ว) ซึ่งจะมีความยุ้งยากหลายประการ ถ้าหากไม่มีมาตรการเพื่อคลุ้มครอง ดูแล และรักษาความปอดภัย ในการเดินทางของพวกเกี่ยว ในกรณีที่นักลงทุนหากมีความประสงนำเอาคนงาน หรือพะนักงานวิชาการของตนเข้ารับใช้ให้แก่การทำการผลิตของตนนั้นรัฐบาลลาวก็ได้ให้สิทธิและความคลุ้มครองเช่นเดียวกับผู้ลงทุนผู้เป็นเจ้าของโครงการ แต่ต้องได้ปฏิบัติตามกฎหมายของ ส ป ป ลาวอย่างเลั่งคัด ซึ่งในดำรัฐของนายกรัฐมนตรี ฉบับเลกที่ 46/นย หมวดที่ VI มาตราที่30 ได้บัญญัติไว้ว่า: รัฐบาลอนุญาตวิชาเข้า-ออกหลายเทื่อเพื่อพักเชา ทำงานอยู่ใน ส ป ป ลาวดั่งนี้            - ผู้ลงทุนต่างประเทศและสมาชิกคอบคัว(คู่รถ พ่อ แม่ และลูก)สูงสุดไม่เกิน5 ปีต่อครั้ง           - เชี่ยวชาณต่างประเทศและสมาชิกคอบคัว(คู่สมรถ พ่อ แม่ และลูก)สูงสุดไม่เกิน2 ปีต่อครั้ง           - แรงงานต่างประเทศสูงสุดไม่เกิน1 ปีต่อครั้ง โดยอิงตามการเสนอ และยั้งยืนของวิสาหกิจลงทุนที่เกี่ยวข้อง[6]  ซึ่งบรรดาสิทธิต่างที่กล่าวมาทั้งหมดข้างบนนี้จะได้รับการปฏิบัติตัวจริงก็ต่อเมื่อมีการปฏิบัติพันธะต่างๆอย่างคบถ้วน ภายใต้ขอบเขตการกำหนดของกฎหมาย และบรรดานิติกรรมต่างๆที่พักและรัฐบาลกำหนดออกอย่างมีความเสมอภาคต่อกฎหมาย ที่ว่าบุคคลมีสิทธิเท่าเทียมกันต่อหน้ากฎหมาย แต่สำรับกรณีของผู้ลงทุนต่างประเทศนั้นก็ได้รับความคลุ้มกันทางการทูต ที่ว่าเมื่อมีการกระทำความผิดไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์แบบเชิ่งหน้า หรือทางอ้อมก็ตามแม้จะได้รับสิทธิและการคลุ้มครองทางการทูตก่อนว่าจพิจารณาตามกฎหมายของประเทศใด หรือ จะนำใช้กฎหมายระหว่างประเทศ หรือ สนธิสัญญาสากนที่ได้ตกลงนำกันระหว่าง ส ป ป ลาวกับประเทศที่เป็นคู่ภคีนำกันอยู่ในขณะนั้นเอง   ในกรณีที่นักลงทุนหากนำเอาคอบคัว หรือ พะนักงานเข้ามาอย่างไม่ถูกกฎหมายนั้น ก็ได้รับอนุญาตให้ผู้ลงทุนนั้นไปประสารงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำการแจ้งการเข้ามาในดินแดนของ ส ป ป ลาว เพื่อทำการระงับข้อผิดพาทที่จะเกิดขึ้นในข้างหน้า นอกนี้ในเวลาที่มีการเดินทางเข้า-ออกประเทศนั้นก็จะได้รับสิทธิพิเศษในการเดินทางเช่นว่า สามารถนำเอาผลิตพันธ์ของ ส ป ป ลาว ออกไปได้โดยที่จะไม่ได้เสยภาษีนำออกในบางส่วนหรือการนำเอาผลิตพันธ์บางอย่างเข้าได้โดยไม่ได้เสยภาษีนำเข้า ทั้งหมดนี้ก็แม่นความอำนวยความสะดวกให้ต่อนักลงทุนต่างประเทศ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการเข้าลงทุนของผู้ลงทุนต่างประเทศโดยตรง           

 2. การให้สิทธิ อนุญาตให้มีการเช่าที่ดินอยู่ ส ป ป ลาว    ผู้ลงทุนต่างประเทศสามารถนำใช้ที่ดินเข้าในการ การจัดสันสร้างตั้งโรงจัก โรงงานของตนได้ตามที่ความต้องการ ในอัดตราของความสามารถเช่าสิทธิในการนำใช้กรรมมสิทธิที่ดิน ทั้งจากเอกชนและจากรัฐบาลของ ส ป ป ลาว ตามความเหมาะสมสำรับทำการผลิต แต่ว่า ตามกฎหมายของ ส ป ป ลาวห้ามไม่ให้ผู้ลงทุนต่างประเทศ วิสาหกิจ การลงทุนต่างประเทศ หรือพะนักงานต่างประเทศของวิสาหกิจจะไม่ได้รับอนุญาตเป็นเจ้าของกรรมมสิทธิที่ดิน แต่หากสามารถนำใช้ได้ในรูปการของการเช่าที่ดินจาก ส ป ป ลาว หรือพลเมืองลาวโดยตรงเท่านั้น ภายใต้ข้อกำหนดของสัญญาเช่าที่ดิน ซึ่งทำขึ้นโดยสอดคล้องกับกฎหมายที่ดิน และปฏิบัติตามความตกลงกันที่ได้กำหนดไว้ในสัญญาที่ได้ทำด้วยกัน  ซึ่งได้บัญญัติไว้ในมาตรา12 ของกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศว่า:รัฐบาลแห่ง ส ป ป ลาวปกป้องการลงทุน และกรรมมสิทธิของผู้ลงทุนต่างประเทศบนพื้นถานระเบียบกฎหมายของ ส ป ป ลาวผู้ลงทุนต่างประเทศได้รับการปกป้องสิทธิและผลประโยชน์จากการเช่าที่ดินหรือสำประทานเช่น นำใช้ ขาย หรือเอาทรัพย์สิ่งของที่ติดพันธ์กับที่ดินหรือสำประทานเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันนำบุคคลอื่นหรือนำสถาบันการเงิน หรือร่วมทุน ให้เช่าต่อสิทธินำใช้ที่ดิน ให้สืบทอดสัญญาเช่าหรือสำประทานที่ดินตามอานุสัญญา ใช้สัญญาเช่าหรือสำประทานที่ดิน เพื่อร่วมทุน หรือค้ำประกันกับบุคคลอื่น [7]  นอกนี้ในดำรัฐของนายกรัฐมนตรีฉบับเลกที่46/ นย หมวดV ยังบัญญัติไว้ว่า    - วิสาหกิจการลงทุนต่างประเทศจะได้รับอนุญาตนำใช้ที่ดินอยู่ ส ป ป ลาวเพียงแต่สัญญาเช่าเท่านั้น ค่าเช่าที่ดิน สามารถคิดเข้าเป็นรายจ่ายของวิสาหกิจลงทุนต่างประเทศได้ หรือผู้ลงทุนต่างประเทศสามารถประกอบค่าเช่าที่ดินดั่งกล่าวเข้าในทุนจดทะเบียนของวิสาหะกิจต่างประเทศ โดยได้รับใบหุ้นเป็นการตอบแทน  - ในกรณียกเลิกสัญญาเช่าที่ดิน ก่อนกำหนดวิสาหกิจลงทุนต่างประเทศจะมีสิทธิเรียกร้องให้มีการส่งคืนจำนวนค่าเช่าที่ถูกจ่ายล่วงหน้าสำรับเวลาที่ยังเหลืออยู่   - วิสาหกิจลงทุนต่างประเทศ และพะนักงานของตนจะได้รับอานุญาติเป็นเจ้าของอาคาน และการพัฒนาต่างๆที่เกิดขึ้นในดินตอนนั้นแต่ว่าการเป็นเจ้าของดั่งกล่าวนั้นแม่นขึ้นกับระยะเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญาเช่าที่ดินดั่งกล่าวนั้น    - พันธะในการเสยภาษีสุกากรทุกอย่างที่เกี่ยวกับการเป็นเจ้าของ การนำใช้ การเช่าที่ดิน หรือการเช่าที่พักอาใสจะเป็นความรับผิดชอบของผู้ให้เช่า เว้นแต่จะตกลงกันต่างหากไว้ในสัญญาดั่งกล่าว           - สัญญาดั่งกล่าวข้างบนนั้นต้องไปผ่านการยั้งยืนและจดทะเบียนนำแขนงการที่เกี่ยวข้องตามระเบียบกฎหมาย[8]     - ถ้าวิสาหกิจต่างประเทศหากถูกยุบหรือยกเลิกก่อนอายุการสัญญาเช่าที่ดิน สัญญาเช่าดั่งกล่าวจะถูกยุบเลิกในเวลาเดียวกัน แต่จะได้รับความคลุ้มครองตามทางควร ซึ่งได้กล่าวมาแล้วในข้างบน ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่นักลงทุนต่างประเทศ ทังที่ได้เข้าลงทุนไปแล้ว หรือนักลงทุนที่กำลังจะเข้ามาลงทุนใน ส ป ป ลาวมีความมั่นใจการเข้าลงทุนว่าจะมีความปอดภัยในทรัพย์สินของตน และสามรถนำใช้ทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด สามารถนำเอาผลกำไลกับคืนสู่ประเทศของตนได้อย่างเต็มเม็ดเต็มส่วน.

4. การระงับข้อผิดพาท      การระงับข้อผิดพาททางด้านเศรษฐกิจตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศของ ส ป ป ลาวมีอยู่สองวิทีการในการระงับข้อผิดพาทในทางการดำเนินธุรกิจคือ ปฏิบัติหลัก การระงับข้อผิดพาทโดยประนีประนอมด้วยกัน(การไก่เกลี่ย) หรือกานร้องฟ้อง  

4.1. การไก่เกลี่ย การระงับข้อผิดพาทที่เกิดขึ้นในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งกรณีไม่สามารถระงับด้วยรูปการประนีประนอมนำกันนั้นให้เสนอต่อคณะกรรมการการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศอยู่ที่ตนได้รับอนุญาตนั้นเป็นผู้ไก่เกลี่ย  ในกรณีที่คณะกรรมการการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศไม่สามารถไก่เกลี่ยได้นั้นก็ให้เสนอไปยังคณะกรรมระงับข้อผิดพาททางด้านเศรษฐกิจพิจารณา   

4.2. การงับข้อผิดพาทโดยการร้องฟ้อง  ข้อผิดพาทที่เกิดขึ้นในการดำเนินธุรกิจซึ่งไม่สามารถตกลงกันได้ด้วยการไก่เกลี่ยคู่กรณีก็สามารถยื่นคำร้องฟ้องไปยังคณะกรรมการระงับข้อผิดพาททางเศรษฐกิจหรือศาลประชาชนเพื่อพิจารณาแก้ไขตามขบวรการยุติธรรม[9]หรืตามความตกลงของคู่กรณี

5. สรุป         ผ่านการค้นคว้า และสังหาบรรดาหนังสือเพื่อประกอบเข้าในการตีความหมาย วิเคราะบรรดาการลงทุนของต่างประเทศอยู่ใน ส ป ป ลาวแล้วเห็นว่ามีความหมาย ความสำคัญ และเป็นแม่แรงที่ผลักดันให้ประเทศมีแนวโน้มที่ดีในการขยายเศรษฐกิจ สู่สากนได้ เพราะการลงทุนต่างประเทศเป็นแหล่งพะลังแรงที่สำคัญ ในพาระกิจพัฒนาเศรษฐกิจเป้าหมายหลักให้ประเทศชาติพ้นออกจากความทุกจน ด้อยพัฒนา สร้างประถมปัดใจ ก้าวขึ้นเป็นอุตสาหกรรมทันสมัยตามแนวทางของพัก-รัฐกำหนดออก ฉะนั้น ส ป ป ลาวพูดรวมจำเป็นต้องดูดดึงเอาการลงทุนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนา เว้าเฉพาะก็แม่นบรรดาองค์การจัดตั้งทังภาครัฐและภาคเอกชนต้องเป็นเจ้าการสิ่งอำนวยต่างๆ เพื่อเป็นเงื่อนไขอันเพียบพ้อม ในการรับเอาการลงทุนจากภายนอก ให้นับมื้อเพิ่มขึ้นทางด้านประริมาณและคุณนะภาพพ้อมนั้นก็พยายามหาวิที เพื่อหลีกเลี้ยงประกฎกาลย่อท้อ และอิกปัญหาหนึ่งต้องชอกรู้บทเรียนที่ดีเด่น ของบรรดาประเทศที่ได้พัฒนามาก่อน เพื่อหลีกเว้นความผิดพาท ข้อบกผ่อง ด้วยเหตุนั้นการถอดถอนบทเรียนของบรรดาประเทศต่างๆในการดึงดูดเอาการลงทุนของต่างประเทศจึ่งมีความจำเป็นและมีผลประโยชน์ให้แก่ประเทศหลายอย่าง        เพราะว่าการลงทุนของต่างประเทศก็เป็นการผลักดันต่อพื้นถานโครงล่างเศรษฐกิจให้มีการปรับปรุงขยายตัว สามรถยกระดับเทคโนโลยี สร้างงานทำให้แก่สังคม เพิ่มรายรับให้ผู้ออกแรงงาน และงบประมานแห่งชาติ ถึงอย่างไรก็ตามที่ผ่านมาการลงทุนของต่างประเทศ ก็ยังมีความจำกัดมีทั้งด้านบวก และลบหลายประการ เพาะอิงใส่บรรดาสะพาวะความเป็นจริงของประเทศและความอาดสามารถของลาวยังมีขีดข้อจำกัด ถึงอย่างและผ่านการสรุปรวมมาข้างบนนั้นจึ่งสามารถสรุปสัเขบได้ข้อดี ข้อเสย และวิทีปรับปรุงแก้ไขเกี่ยวกับการลงทุนของต่างประเทศ เล่งใส่เพื่อผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์การพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนบรรดาเผ่าให้พ้นจากความทุกยาก สล้างปะถมปัดใจก้าวขึ้นหันอุตสาหกรรมเป็นทันสะมัยที่รก้าวได้ดั่งนี้   

5.1.ข้อดี ส ป ป ลาวเป็นประเทศที่มีความสงบสุกทางด้านการเมือง และมีกฎหมายเป็นเครื่องมือในแต่ละขงเขตการงาน เป็นประเทศที่มีกระสิกรรมติดพันธ์กับธรรมชาติต่างๆเช่น: ดินกะสิกรรม ป่าไม้ที่กว้างขวาง มีแม่น้ำลำเชเหมาะ แก่การสร้างเขื่อนใฟฟ้าน้ำตกและชนระประทาน บ่อแห่ทรัพยากรธรรมชาติอย่างหลวงหลายที่ยังไม่ทันได้ถูกขุดค้นขึ้นมานำใช้ มีวัดถุบูราน และแห่ลงท้องเที่ยวธรรมชาติหลายแห่งทั้งหมดนี้เป็นพื้นถาน เงื่อนไขให้ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมของประเทศยิ่งกว่านั้น ส ป ป ลาวยังเป็นจุดผ่านและทางผ่านของบรรดาประเทศในอนุพากพื้นและในโลกในการขนส่งสินค้า และการโทรมนาคมต่างๆ นอกนั้น ส ป ป ลาวยังมีกฎหมายที่มีบทบาทพื้นถานในการรับประกันความถูกต้องของการดำลงชีวิตของคนในสังคม และยังเป็นเครื่องมือในการปกป้องผลประโยชน์และทรัพย์สมบัดของประชาชน และนักลงทุนทังหหลายที่ได้ดำเนินการเคลื่อนไหวธุรกิจอยู่ในประเทศลาว     

หมายเลขบันทึก: 64326เขียนเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2006 10:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 พฤษภาคม 2012 09:49 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท