kajeab
นางสาว นางสาวเบญจวรรณ เจี๊ยบ สังข์ทอง

The Five Learning Disciplines


พฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมทางความคิด
1. การคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking)

การคิดอย่างเป็นระบบ
สภาวะเป็นจริงในธรรมชาติมีความสัมพันธ์เป็นวงกลม แต่เรามักเห็นเป็นเส้นตรง เพราะกรอบความคิดแบบเชิงเส้น (Linear thinking) ของเรา                            
                  - ภาษาแบบเชิงเส้น เราจะเห็นเพียงการแบ่งส่วนย่อยๆ                         
                 
- ภาษาแบบวงกลม เราจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างกัน                                 
          
 จุดประสงค์เพื่อการมองเหตุการณ์ให้เห็นถึง          แรงผลักดันที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ 

2. โมเดลความคิด (Mental Model) เป็นกรอบความคิดที่จะส่งผลต่อการเรียนรู้และเข้าใจ

รูปแบบความคิด/จิตใจ
       เน้นเข้าไปดูภายในของจิตใจ เพื่อตรวจดูวิธีที่เรารับรู้ต่อโลกในปัจจุบันว่า เรามองโลกอย่างไร
       เราจะนำพาอะไรเข้าไปในสมองเรา ภาพลักษณ์ สมมติฐาน และเรื่องราวต่างๆ
       Mental Model เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ ?
       Mental Model กำหนดปฏิกิริยาที่เราแสดงออกต่อภายนอก
       พัฒนา              ทักษะการไตร่ตรอง (Reflection skill)

        ทักษะการซักถาม (Inquiry skill)

3. ใฝ่เรียนใฝ่รู้ (Personal Mastery)

ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล

       เป็นมากกว่าความสามารถ ความเชี่ยวชาญ แต่มีพื้นฐานจากทั้ง 2 ประการนี้ หากแต่มุ่งที่การแสดงออกทางจิตใจ การเข้าไปสร้างสรรค์จากสิ่งที่ดำเนินอยู่ การสร้างสรรค์ที่แสดงปรากฏออกมาให้เห็น

       บุคคลที่มี Personal Mastery สูงจะเป็นคนที่มีความมุ่งมั่น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความรับผิดชอบค่อนข้างสูง

       จะสนับสนุนให้เกิดแรงจูงใจส่วนบุคคล ในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องว่าการกระทำของเรานี้ส่งผลกระทบต่อโลกอย่างไร  มิใช่ Reactive Mindset

       เรียนรู้ด้วยตนเอง ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง มิใช่ต่อต้าน

       วิสัยทัศน์ส่วนบุคคล (Personal vision)  เกิดมาจากภายใน มิใช่จากการเปรียบเทียบกับผู้อื่น

       การรักษาแรงดึงที่สร้างสรรค์ Creative tension

        ดึงความจริง เข้าหา วิสัยทัศน์

        ดึงวิสัยทัศน์ เข้าหา ความจริง

       การฝึกฝน Personal Mastery เป็นการใช้มิติ

            ของจิตใต้สำนึก

       จินตนาการ และภาพของจิตใต้สำนึก

      (Imaginary and Visualization)

4. การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ( Shared Vision )

การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน

       ต้องการสนับสนุนให้เกิดความมุ่งมั่นในระยะยาว (Long term Commitment)

       วิสัยทัศน์ร่วมกัน มิใช่แค่เพียงความคิดหนึ่งที่ร่วมกันเท่านั้น หากแต่เป็นแรงผลักดันที่อยู่ในจิตใจของแต่ละคน อาจจะถูกจุดขึ้นจากความคิดหนึ่ง และงอกเงยต่อๆไป และได้รับการสนับสนุนจากคนอื่นๆ จนรู้สึกถึงวิสัยทัศน์ร่วมนั้นได้อย่างจริงๆ

       เราต้องการที่จะ(ร่วมกัน)สร้างสรรค์คุณค่าอะไร ?”

       วิสัยทัศน์ สร้างมาตรฐานที่มีความเป็นเลิศจากภายในขององค์กรเอง และสร้างความรู้สึกร่วมกันภายในองค์กร

5. การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning)

การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นทีม

       พยายามพัฒนาทักษะ และความชำนาญของทีมงานในการมองภาพรวม ซึ่งเป็นภาพที่ใหญ่กว่า กว้างกว่าการมองจากมุมมองในระดับบุคคล

       การมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (Alignment)

       ทีมต้องเรียนรู้ที่จะนำเอาศักยภาพที่มีอยู่อย่างหลากหลายมาเสริมกัน เพื่อให้เกิดความสามารถที่เหนือกว่าคนๆเดียว ด้วยความคิดสร้างสรรค์ และการประสานกันในการทำงาน

       การเรียนรู้ของทีม จะช่วยให้ทีมอื่นๆมีความเจริญก้าวหน้า (Cycle of learning)

       การเสวนา และการหารือ (Dialogue and Discussion)

จาก file:///D:/mit/ภาคเรียน2-2549/km/ทั่วไป/บทที่%203/Learning_org.ppt#684,10,รูปแบบความคิด/จิตใจ

คำสำคัญ (Tags): #kmclass
หมายเลขบันทึก: 64247เขียนเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2006 21:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 16:33 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท