พฤติกรรมเห็นผิดเป็นชอบ เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ทำอะไรผิดมีเหตุผลกล่าวอ้างได้เสมอ


ตีงูพิษตีจนจาย ตีงูไม่มีพิษตีให้แค่ไม่มีแรงรัด ทำอันตรายก็คงพอ คนร้ายฆ่าผู้อื่นมักจะให้การ ทำนองนี้ ว่าทำเพื่อปกป้องตนเอง แต่ต่างกันตรงที่ ปกปองสิ่งที่จะตามมาในอนาคต มิใช่ปกป้องชีวิตตนเอง ในปัจจุบัน ไปกลัวในสิ่งที่ยังไม่เกิด ซึ่งหากมีสติ มากกว่านี้ จะรีบหยุด มอบตัว และขอขมา แต่เพราะเลือกวิธีที่ผิด วิธีที่ง่ายไป ิดว่าอำพรางได้หนีได้รอดได้ แล้วทำพฤติกรรมลบต่อเนื่องๆไปจนตนเองก็ทุกข์เองที่ไม่หยุดเพราะโมหะแค้นไม่ยอมให้อภัย คิดว่าสิ่งต่างๆที่ตนเองกับพวกโดนจับ เป็นเพราะแอ๋ม มิใช่เปนเพราะตนเองทำธุรกิจผิดกฎหมาย .........Resignation รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง ทำผิดไม่คิดว่าสาเหตุบางอย่างหรือสาเหตุหลักเกิดจากเรา คิดว่าสิ่งอื่นเป็นสาเหตุหลักและรอง มองไม่เห็นหรือไม่มองความผิดพลาดของตนเอง ที่เราเห็นจุดบอดคนอื่นเห็นได้ง่าย แต่จุดบอดตนเองไม่ได้หันกลับมามองตนเอง จึงไม่ได้รู้จุดอ่อนของตนเอง

.ดังกว่าดาราตอนนี้ก็มีแค่เปรี้ยว เอิร์น แจ้ วศิน ทำกรรมหนักก็นอนไม่หลับทุกข์ทรมานและแก้กรรมก็ไม่ได้ สมัยก่อนหรือบางประเทศในสมัยนี้ จะถูกตัดสินโดยชุมชน ผู้ก่อกรรมก็จะถูกปาหินใส่จนตาย ส่วนฆาตกรข่มขืนก็จะถูกไม้เสียบก้นทรมานจนตาย ก็มีให้เห็น

......จะยุติธรรมคนก่อต้องได้รับกรรมที่ทุกข์ทรมานที่เท่าๆกัน หรือทรมานมากกว่า ผู้ตาย พ่อแม่ผู้เสียชีวิตถึงจะยอมรับได้ และจะไม่มีใครกล้าทำพฤติกรรมที่รุนแรง ...หากทำโทษผู้ทำผิด ให้หนักเท่าๆพฤติกรรมของผู้ก่อ ประจานเตือนสติคนอื่นๆ คนอื่นๆก็จะตระหนักถึงความรุนแรงที่ตนเองจะได้รับในอนาคต....
......คนเรา.. พอตระหนักสำเหนียกก็จะเกรงกลัวความเจ็บปวดทรมาน ทางกาย (คนส่วนใหญ่ไม่เคยติดคุก สำเหนียกแค่ว่า ติดคุกแต่ทรมานทางกาย) และสติจะมาเร็วขึ้น ความคิดที่สองจะเกิดขึ้นได้เร็วขึ้น (ความหุนหันพลันแล่น ด้วยโมหะจะเกิดสั้นกว่าเดิม ตั้งสติได้เร็้ว)
........Impassivity ทำตามอารมณ์ชั่ววูบ ขาดสติ(ขาดเหตุผลมาควบคุมอารมณ์)....
...... เหตุเพราะตนได้เคยสำเหนียกกับการเห็น ผลกรรม หรือเห็นนรก (จำภาพนั้นได้ขึ้นใจ นึกก็เห็นเป็นภาพ ภาพมันติดตา ภาพทุกขกิริยามันถูกเมมไว้ในสมองเรียบร้อยแล้ว มโนผัสสะ) แล้ว พระพุทธเจ้าถึงได้ เปิดโลกนรก สวรรค์ให้คนผู้หลงโมหะ หลงรูป หลงกิเลสอยาก ได้รีบสำเหนียก กลัวความทรมาน และเร่งทำบุญ ละเว้นบาป อย่าได้เสียเวลาลังเลสงสัย วิจิกิจฉาเรื่องกรรมอีกต่อไป
........สำเหนียก ตระหนัก ในที่นี้หมายถึง ขณะที่ทำกิจกรรมหนึ่งแล้วสมองคิดวิเคราะห์ถึงผลลัพธ์ ประเมินไว้ล่วงหน้า แล้วปรับแก้ ปัจจุบันทันที ไม่ให้เกิดผลเสียหาย หรือทำอย่างระมัดระวังสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปพร้อมๆกันด้วยความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง (PDCA MGt of Change Contingencyplan)

..ทำไมถึงต้องอำพราง(หั่น)ศพ

1.กลัวได้รับโทษรุนแรง ทำไมทำรุนแรง บีบคอด้วยอารมณ์เลยหนักมือ ทำไมทำด้วยอารมณ์ เพราะโกรธ โมโห ได้ยินว่าถ้าเราไม่ตายมรึงตาย ทำไมสมองสั่งให้ เจตนาบีบเพื่อให้ตาย เพราะสมองคิดว่า ถ้าทำไม่ตาย ตนเองจะตาย เลยทำเพื่อ ให้ตนเองไม่เสี่ยงที่จะตาย และกลัวว่าตนเองจะ ตายได้อีกในอนาคต จึงเลี่ยงไม่เสี่ยงโดยการ ทำให้เขาตาย ง่ายกว่าที่ตนเอง จะมาหนีกับการไล่ล่าเอาชีิวิต อีกไม่รู้ระยะเวลา จึงเลือกฆ่า ง่ายกว่า เพราะกลัว เขากลับมาเอาคืน ตอนทำเขาไม่กลัวกรรม พอเขาพูดจะทำตนบ้าง ตนกลับกลัวตายขึ้นมาจริงๆ สมองมันไม่ได้ซับซ้อนอะไรตอนฆ่า มันทำตามอารมณ์ คือ ตายซะจะได้ไม่กลับมาทำร้ายเรา เหมือนตีงูพิษตีจนจาย ตีงูไม่มีพิษตีให้แค่ไม่มีแรงรัด ทำอันตรายก็คงพอ คนร้ายฆ่าผู้อื่นมักจะให้การ ทำนองนี้ ว่าทำเพื่อปกป้องตนเอง แต่ต่างกันตรงที่ ปกปองสิ่งที่จะตามมาในอนาคต มิใช่ปกป้องชีวิตตนเอง ในปัจจุบัน ไปกลัวในสิ่งที่ยังไม่เกิด ซึ่งหากมีสติ มากกว่านี้ จะรีบหยุด มอบตัว และขอขมา แต่เพราะเลือกวิธีที่ผิด วิธีที่ง่ายไป ิดว่าอำพรางได้หนีได้รอดได้ แล้วทำพฤติกรรมลบต่อเนื่องๆไปจนตนเองก็ทุกข์เองที่ไม่หยุดเพราะโมหะแค้นไม่ยอมให้อภัย คิดว่าสิ่งต่างๆที่ตนเองกับพวกโดนจับ เป็นเพราะแอ๋ม มิใช่เปนเพราะตนเองทำธุรกิจผิดกฎหมาย .........Resignation รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง ทำผิดไม่คิดว่าสาเหตุบางอย่างหรือสาเหตุหลักเกิดจากเรา คิดว่าสิ่งอื่นเป็นสาเหตุหลักและรอง มองไม่เห็นหรือไม่มองความผิดพลาดของตนเอง ที่เราเห็นจุดบอดคนอื่นเห็นได้ง่าย แต่จุดบอดตนเองไม่ได้หันกลับมามองตนเอง จึงไม่ได้รู้จุดอ่อนของตนเอง

สรุป

1.แค้นเพราะคิดว่าสิ่งที่เพื่อนทำเป็นสิ่งผิด ทำให้ตนเองและเพื่อนโดนจับ

2.ไม่คิดว่าตนเองผิดทำธุรกิจผิดกม.

3.บีบคอจนตาย เพราะแค้นมากกลัวในสิ่งที่จะตามมา (กลัวว่าจะถูกเอาคืน ไม่รู้จะแก้ปัญหา หลีกเลี่ยงการถูกเอาคืนอย่างไร เลือกที่จะไม่ให้ตัวเองต้องลำบากหนีการล่า)

4.เลือกวิธีที่ง่ายไปคือฆ่าเสียเขาจะได้ไม่มาฆ่าเราคืน (อารมณ์สัญชาติญานสัตว์ดุร้ายเดรัชฉานล้วนๆ แต่บางทีสัตว์ที่ดูดุร้าย มันก็ไม่ได้สู้กันจนตาย แค่ป้องกันตัว ผู้ต่อสู้มีท่าทีสู้ไม่ได้ ก็เดินจากออกไปแล้ว ก็คือมีลิมิต)

5.พฤติกรรมทำผิดต่อเนื่อง เพราะกลัวได้รับโทษ กลัวติดคุกสูญเสียความอิสระ (ความเกรงกลัวคุกไม่เกรงกลัวต่อบาปกรรม)

6.พฤติกรรมอำพราง หนี ความผิด (ทำอะไรก็ได้ที่คิดได้ขณะนั้น ไม่ให้ใครจับได้)

ผลสุดท้ายก็ต้อชดใช้กรรมที่ปล่อยให้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผลและ ขาดสติ Impassivity แค้นฝังใจ Resignation คิดว่าความผิดที่ตนทำขึ้น เป็นการลงโทษผู้ที่ผิด ซึ่งจริงๆแล้วตนเองผิดที่ทำธุรกิจผิด กม. เพื่อนทำถูกที่ไปบอกตำรวจ ให้ลงโทษตน ทำผิดจนชิน อะไรมาขวางทางก็ผิดไปหมด ความคิดของกลับตาลบัตรแบบนี้อันตรายต่อสังคมส่วนรวม คือเป็นบัวใต้โคลนตม เห็นกงจักเป็นดอกบัวแล ......

….. อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/495378

หมายเลขบันทึก: 629327เขียนเมื่อ 4 มิถุนายน 2017 23:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 4 มิถุนายน 2017 23:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท