สรุป : ความรู้พื้นฐานทางสุนทรียภาพ


สรุป : ความรู้พื้นฐานทางสุนทรียภาพ

(1) ภูมิหลังและความหมายของสุนทรียศาสตร์ [Aesthetics]

  • เริ่มต้นอย่างเป็นระบบในยุคสมัยของเพลโตและอริสโตเติล

o เชื่อว่ามนุษย์ลอกเลียนธรรมชาติครบถ้วนสมบูรณ์คือผลงานชั้นเลิศ

  • คริสต์ศตวรรษที่19 ปรากฏในวงการศิลปะฝรั่งเศส นำสุนทรียศาสตร์มาวิจารณ์ประเทศแรกก่อนจะแพร่หลาย

o การนำสุนทรียศาสตร์มาวิจารณ์มีพื้นฐานจากทฤษฎีชาวเยอรมันชื่อคานท์

o คานท์รับอิทธิพลมาจากเอ็ดการ์ อัลลัล โป “ the poetic principle

o poem written solely for the poem’s sake

  • หลัง AD.16 พิจารณาผลงานตามแต่ใจของผู้เขียนแสดงออกเต็มที่ “ I,art pour I,art
  • Aesthetics มาจากคำว่า Aisthenathai =to perceive + Aestheta = สิ่งที่รับรู้ได้

o นำมารวมกันเป็นคำเดียวกันคือ Aithetikos=สิ่งที่เกี่ยวกับความรู้สึกทางการรับรู้

  • Aesthetics เกิดขึ้นโดย Alexander baumgarten นักปราชญ์เยอรมัน นำคำว่า Aisthesis ในภาษากรีกมาใช้ หมายถึงการรับรู้ความรู้สึก
  • สุนทรียศาสตร์ [Aesthetics] เป็นสาขาหนึ่งในคุณวิทยา(Axiology) Logic , Ethics
  • พจนานุกรม =ปรัชญาสาขาหนึ่งที่ว่าด้วยความงาม
  • เริ่มเรียกสุนทรียศาสตร์ = พระยาอนุมานราชธน

o นำศัพท์สันสกฤต2 คำ คือ ศาสตร (ความรู้)+สุนทรีย(ความงาม)=วิชาที่ว่าด้วยสิ่งสวยงาม

(2) ประเภทของศิลปะและความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสุนทรียภาพ

  • ศิลปะเป็น อกาลิโก
  • ศิลปะแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ ประโยชน์ศิลป์และวิจิตรศิลป์
    • ประโยชน์ศิลป์=มีประโยชน์+สุนทรียะ
    • วิจิตรศิลป์=สุนทรียะอย่างเดียว
  • วิจิตรศิลป์ 4 ประเภทคือ
    • ทัศนศิลป์=วาดภาพ+แกะสลัก
    • โสตศิลป์=ดนตรี
    • สัญลักษณ์ศิลป์ = วรรณคดี
    • ศิลปะผสม= เต้นรำ,ศิลปะแต่ 2อย่างขึ้นไปมารวมกัน
  • ผู้ชื่นชอบศิลปะแบบใดมักแสดงออกแบบนั้น
    • ชอบอักษร-----นักเขียน
    • ชอบเสียง----ดนตรี
    • ชอบร่างกาย----ศิลปะการแสดง
    • วัตถุ-----ทัศนศิลป์+สถาปัตยกรรม
  • กระบวนการทางสุนทรียภาพ


บรรณานุกรม

กีรติ ธนะไชยและคณะ.2560.ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารเชิงสุนทรียภาพ.มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ์.

หมายเลขบันทึก: 627428เขียนเมื่อ 11 เมษายน 2017 22:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 เมษายน 2017 18:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท