Case study ในผู้รับบริการ Dementia และ Rheumatoid


สวัสดีครับ

วันนี้เป็นวันดีจึงมาพบกันอีกแล้ว

โดยวันนี้ จะเป็นบทความ เกี่ยวกับ

Case study ในผู้รับบริการ Dementia และ Rheumatoid

โดยเราจะมาเริ่มที่ case แรกก่อนเลย คือ ผู้รับบริการ

1.เคสวัย 65 ปีที่เป็นรูมาตอยด์มา 5 ปี แล้วต้องดูแลแม่วัย 97 ปี ไม่ได้ทำงานประจำ เดิมมีความสามารถเป็นผู้จัดการบริษัทก่อสร้างต่างชาติ และชอบทำอาหารไทยกำลังกลุ้มใจเพราะมีหนี้สินกว่า 2 ล้านบาท

Person

Environment

Occupation

Performance

ผู้รับบริการ อายุ 65 ปี เป็นรูมาตอยด์มาระยะเวลา 5 ปี

มีแม่อายุ 97 ปี

มีหนี้สินมากกว่า 2 ล้านบาท

ไม่มีงานประจำ ชอบทำอาหารไทย

Ability มีความสามารถเป็นผู้จัดการบริษัทก่อสร้างต่างชาติ และทำอาหารไทยได้ดี

อาชีพที่ส่งเสริม ส่งเสริมให้ผู้รับบริการทำงานเป็นผู้ประกอบอาหารในร้านอาหารไทย ในต่างแดนหรือโรงแรมที่มีชื่อเสียงใจกลางกรุงเทพ

Job analysis

กิจกรรมที่ทำในงาน

องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรม

ความสามารถช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคในการทำงานอย่างไร

1.ทำอาหารไทย

- Hand functions

- Hand pretension

- Eye hands coordination

- Cognition ( attention, memory, sequencings )

- Sensory of hand and special sensory

- Bilateral hand

- Muscle strength of hand

- Endurance of hand

- Endurance of hand

- Pain of UE joints

2.การสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ

- Communication

- Social skills

- Cognition ( language )

-

3.ยืนทำอาหารเป็นเวลานานประมาน 6 – 8 ชั่วโมง/วัน

- Standing Balance

- Endurance of foot

- Muscle strength of foot

- Endurance of foot

- pain of LE joints

4.เดินนำอาหารไปไว้ที่เคาเตอร์

- Balance

- Walk and mobility

- Eye foot coordinate

- Basic cognition

- Walk and mobility

Problem list

1.ผู้รับบริการไม่มีงานประจำ

2.ผู้รับบริการไม่สามารถทำอาหารโดยใช้มือได้เป็นเวลานานติดต่อกัน

3.ผู้รับบริการไม่สามารถยืนทำอาหารได้นานติดต่อกันเป็นเวลานาน

4.ผู้รับบริการมีการปวดเมื่อเคลื่อนย้ายร่างกาย เช่น เดินไปเคาเตอร์

5.ภาระหนี้สินที่บ้านและต้องเลี้ยงดูแม่

Goal

1.ผู้รับบริการสามารถกลับไปทำงานตามความสนใจ(Return to work) ได้ภายในระยะเวลา 1 เดือน

2.ผู้รับบริการลดอาการปวดที่ข้อของ UE และ LE ได้ภายในระเวลา 1 สัปดาห์

3.ผู้รับบริการสามารถรู้วิธีจัดการความปวดของข้อ ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

Intervention

Goal

Intervention

1.ผู้รับบริการลดอาการปวดที่ข้อของ UE และ LE ได้ภายในระเวลา 1 สัปดาห์

FoR: Physical rehabilitation , Biomechanics , Psychosocial

Approach: inhibit

Technique: teaching and learning process , counseling , ROM(PROM AROM) , energy conservation, Positioning

Intervention:

  • ให้ผู้บำบัดทำการ PROM, massage และ joint mobility แนะนำให้กลับไปทำที่บ้านและทำเป็นประจำสม่ำเสมอ
  • ให้ผู้บำบัดให้คำแนะนำเมื่อเกิดอาการนิ้วล็อค คือ การให้งอทุกข้อก่อนจะคายนิ้วที่ล็อค การแนะนำการพักเมื่อทำกิจกรรมอยู่เป็นเวลานาน ให้นั่งลงเมื่อยืนทำอาหารเป็นเวลานาน และให้มีตารางการพักที่ถี่มากขึ้น
  • ให้ผู้รับบริการiใช้เทคนิค RICE เพื่อลดอาการปวดของข้อในบริเวณต่างๆ

2.ผู้รับบริการสามารถรู้วิธีจัดการความปวดของข้อ ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

FoR: Psychosocial

Approach: Promote

Technique: teaching and learning process , counseling , environmental modification , energy conservation , therapeutic relationship

Intervention:

  • ส่งเสริมให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงตัวโรคและการดำเนินของโรค
  • ให้ผู้บำบัดให้คำแนะนำเมื่อเกิดอาการนิ้วล็อค คือ การให้งอทุกข้อก่อนจะคายนิ้วที่ล็อค การแนะนำการพักเมื่อทำกิจกรรมอยู่เป็นเวลานาน ให้นั่งลงเมื่อยืนทำอาหารเป็นเวลานาน และให้มีตารางการพักที่ถี่มากขึ้น
  • ปรับสภาพบ้านให้มีความเหมาะสมกับผู้รับบริการ คือ อุปกรณ์ที่ต้องใช้อยู่ประจำจะอยู่ใกล้กันและไม่เกินความสามารถในการหยิบจับ เพื่อลดการเคลื่อนย้ายตัวที่มากของผู้รับบริการ

3.ผู้รับบริการสามารถกลับไปทำงานตามความสนใจ(Return to work) ได้ภายในระยะเวลา 1 เดือน

FoR : Physical Rehabilitation FOR

Approach: Promote

Intervention :

  • Work conditioning
    • ฝึกการทำอาหารไทย โดยมีการจัดตารางการพัก ทำ 5 จาน แล้วจึงพัก 10 นาที
    • ผู้รับบริการทดสอบการใช้ภาษาอังกฤษให้คล่องแคล่วในการสื่อสาร
  • Work hardening
    • ฝึกการทำอาหารโดยมีการกำหนดเวลาในการทำในแต่ละจาน
    • มีการจัดตารางเวลาให้เหมาะสมทั้งความต้องการของเจ้านายและของตนเอง
    • ผึกภาษาอังกฤษที่มีความจำเป็นในร้านอาหาร เช่น ชื่อเมนูอาหาร คำศัพท์ที่จำเป็นในร้านอาหาร
    • จำลองการทำอาหารจนไปถึงการนำไปวางที่เคาเตอร์ และมีการกำหนดเวลาพักที่แน่นอน
  • Environmental modification
    • ปรับให้อุปกรณ์ในการทำอาหารที่จำเป็นตามหน้าที่ของตนอยู่ใกล้ตัว เพื่อลดการเคลื่อนย้ายตัว
    • ปรับให้ขนาดโต๊ะและเก้าอี้มีความพอดีกับตัวผู้รับบริการ ไม่สูงเกินไป หรือเตี้ยจนเกินไป
    • แนะนำให้เจ้าของติดตั้งรางในการส่งอาหารไปที่เคาเตอร์ เพื่อความสะดวกของผู้รับบริการแม่ครัวท่านอื่น

2.เคสวัย 70 ปีที่เป็นสมองเสื่อมมา 3 ปี ไม่อยากออกสังคม เงียบอยู่คนเดียว เดิมเป็นทนายความ และเครียดด้วยภาระหนี้สินสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ แต่อยากช่วยครอบครัวทำงาน กิจกรรมยามว่างชอบปลูกต้นไม้ทานได้

Person

Environmental

Occupation

Performance

ผู้รับบริการอายุ 70 ปี เป็นโรคสมองเสื่อมมา 3 ปี มีความเครียด อาชีพในอดีตคือทนายความ

มีครอบครัว และมีภาระหนี้สินที่มากจากการสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ

ปลูกต้นไม้ทานได้

สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ แต่ไม่อยากเข้าวังคม และชอบอยู่คนเดียว

หารายได้จากกิจกรรมยามว่าง (work as leisure )

อาชีพที่ส่งเสริม ส่งเสริมให้ผู้รับบริการคือปลูกต้นไม้ที่ทานได้ และส่งออกให้กลับร้านค้าในตลาดและโรงงาน

Job analysis

กิจกรรมที่ทำในงาน

องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรม

ความสามารถช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคในการทำงานอย่างไร

1.ปลูกต้นไม้ทานได้

- cognitive (orientation, memory, sequencing, learning, executive functions)

- hand functions

- hand pretension

- muscle endurance

- muscle strength

- Eye hands coordination

- bilateral hands

- cognitive (orientation, memory, sequencing, learning, executive functions)

- muscle endurance

- muscle strength

เนื่องด้วยอายุที่มาก

2.การดูแลรักษาต้นไม้ทานได้

cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

- hand functions

- hand pretension

- muscle endurance

- muscle strength

- Eye hands coordination

- bilateral hands

- Sensory of hand

- cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

- muscle endurance

- muscle strength

เนื่องด้วยอายุที่มาก

3.คิดเงินให้แก่พ่อค้าคนกลางและเก็บเงิน

- cognitive (memory, calculation, executive functions)

- communications skills

- social skills

- cognitive (memory, calculation, executive functions)

- communications skills

- social skills

4.พูดคุยกับพ่อค้าคนกลางเกี่ยวกับผลผลิต ราคาของสินค้า รวมถึงการโฆษณา

- communications skills

- social skills

- cognitive (language, executive functions)

- communications skills

- social skills

- cognitive (language, executive functions)

5.การเก็บผลผลิต

- cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

hand functions

- hand pretension

- muscle endurance

- muscle strength

- Eye hands coordination

- bilateral hands

- Sensory of hand and special sensory

- cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

- muscle endurance

- muscle strength

เนื่องด้วยอายุที่มาก

Problem list

1.ผู้รับบริการไม่มีงานที่ทำประจำ

2.ภาระหนี้สินทางบ้าน

3.ความสามารในด้าน cognitive ที่มีความบกพร่องจากภาวะสมองเสื่อมที่เป็นอยู่

4.ความสามารถในการเขาสังคมและการขาดแรงจูงใจในการทำกิจกรรม

Goal

  • ผู้รับบริการสามารถหารายได้จากกิจกรรมยามว่าง (work as leisure ) ภายในระยะเวลา 1 เดือน
  • ผู้รับบริการสามารถทำตามขั้นตอนในการปลูกต้นไม้ ดูและ และเก็บผลผลิตได้ ภายในระยะเวลา 3 สัปดาห์
  • ผู้รับบริการสามารถมีแรงจูงใจในการทำงานและเข้าร่วมสังคม ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

Intervention

Goal

Intervention

1.ผู้รับบริการสามารถหารายได้จากกิจกรรมยามว่าง (work as leisure ) ภายในระยะเวลา 1 เดือน

2.ผู้รับบริการสามารถทำตามขั้นตอนในการปลูกต้นไม้ ดูและ และเก็บผลผลิตได้ ภายในระยะเวลา 3 สัปดาห์

FoR : Physical Rehabilitation FOR

Approach: Promote

Intervention :

  • Work conditioning
    • ให้คำแนะนำในสิ่งที่ตนเองต้องการจะทำ จากแบบประเมิน interest checklist
    • ให้ผู้รับบริการมีการเขียนบันทึกประจำวัน ว่าในแต่ละวันต้องทำอะไรบ้าง ถ้าทำไปแล้วก็ทำเครื่องหมายไว้
    • ใช้การฝึก STOMP สำหรับผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม
    • ให้กิจกรรมที่ช่วยส่งเสริม memory orientation และ attention เช่น การจำสิ่งของแล้วเดินไปหยิบ การเขียนบันทึกประจำวันโดยมีนักกิจกรรมบำบัดดูแลอย่างใกล้ชิด
  • Work hardening
    • ให้ผู้รับบริการฝึกความจำสิ่งของที่จำเป็นในการทำสวนและปลูกพืช
    • ให้ผู้รับบริการเข้าใจขั้นตอนในการทำ แต่ละขั้นตอนในการทำสวน
    • ให้ผู้รับบริการจัดตารางเวลาประจำวัน ร่วมถึงการจัดตารางประจำปี เพื่อดูระยะการเก็บเกี่ยว การเริ่มปลูก
    • ให้ผู้รับบริการจัดการเวลาพักของตนเองในขณะทำสวน โดยทำให้การพักมีอยู่บ่อยครั้งขึ้น
    • สถานการณ์จำลอง ให้เกิดปัญหาในการเพาะปลูกให้ผู้รับบริการแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือขอคำปรีกษาจากครอบครัว

3.ผู้รับบริการสามารถมีแรงจูงใจในการทำงานและเข้าร่วมสังคม ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

FoR: Psychosocial

Approach: Promote

Technique:, therapeutic use of self , counseling , therapeutic relationship

Intervention:

  • ให้คำปรึกษากับผู้รับบริการในการให้คำแนะนำ สร้างแรงบันดาลใจในการพูดคุยสื่อสารกับบุคคลทั่วไป และส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้ทำกิจกรรมที่ตนเองชื่นชอบ
  • Work conditioning
    • ให้การพูดคุยระหว่างผู้บำบัดและผู้รับบริการ ในหัวข้อเรื่องทั่วไปที่ผู้รับบริการสนใจ และยอมรับความคิดเห็นจากผู้บำบัดได้
    • ให้คุยในหัวข้อทั่วไปกับคนในครอบครัว
  • Work hardening
    • จำลองสถานการณ์ในการต่อลองราคาซื้อขายผลผลิตทางการเกษตร
    • จำลองสถานการณ์ให้เกิดปัญหาในการติดต่อสื่อสาร และให้ผู้รับบริการคิดวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือรับฟังความคิดเห็นจากคนในครอบครัว

แหล่งอ้างอิง

Carrie A. Ciro; Linda A. Hershey. Enhanced Task-Oriented Training in a Person With Dementia With Lewy Bodie. The American Journal of occupational therapy [Internet]. 2013. [cited 2016 Oct 9]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=1863063&resultClick=3

Gloria Platt Furst; Lynn H. Gerber;. A Program for Improving Energy Conservation Behaviors in Adults With Rheumatoid Arthritis. The American Journal of occupational therapy [Internet]. [cited 2016 Oct 9]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=1882261&resultClick=3

Kristine Carandang; Elizabeth A. Pyatak. Systematic Review of Educational Interventions for Rheumatoid Arthritis. The American Journal of occupational therapy [Internet]. 2016. [cited 2016 Oct 9]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=2569273&resultClick=3

Rosanne DiZazzo-Miller; Preethy S. Samuel. Addressing Everyday Challenges: Feasibility of a Family Caregiver Training Program for People With Dementia. The American Journal of occupational therapy [Internet]. 2014. [cited 2016 Oct 15]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=1864930&resultClick=3

หมายเลขบันทึก: 617103เขียนเมื่อ 17 ตุลาคม 2016 01:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 ตุลาคม 2016 01:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท