case study ในผู้ป่วย Dementia และ Rheumatoid


สวัสดีครับ

วันนี้มาพบกันอีกครั้ง โดยในวันนี้จะเป็นการกล่าวถึง

Case study ในผู้รับบริการ Dementia และ Rheumatoid

มาเริ่มกันเลยดีกว่าครับ

1.เคสวัย 65 ปีที่เป็นรูมาตอยด์มา 5 ปี แล้วต้องดูแลแม่วัย 97 ปี ไม่ได้ทำงานประจำ เดิมมีความสามารถเป็นผู้จัดการบริษัทก่อสร้างต่างชาติ และชอบทำอาหารไทยกำลังกลุ้มใจเพราะมีหนี้สินกว่า 2 ล้านบาท

Person

Environment

Occupation

Performance

ผู้รับบริการ อายุ 65 ปี เป็นรูมาตอยด์มาระยะเวลา 5 ปี

มีแม่อายุ 97 ปี

มีหนี้สินมากกว่า 2 ล้านบาท

ไม่มีงานประจำ

ชอบทำอาหารไทย

Ability มีความสามารถเป็นผู้จัดการบริษัทก่อสร้างต่างชาติ

และทำอาหารไทยได้ดี

อาชีพที่ส่งเสริม ส่งเสริมให้ผู้รับบริการทำงานเป็นผู้ประกอบอาหารในร้านอาหารไทย ในต่างแดนหรือโรงแรมที่มีชื่อเสียงใจกลางกรุงเทพ

Job analysis

กิจกรรมที่ทำในงาน

องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรม

ความสามารถช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคในการทำงานอย่างไร

1.ทำอาหารไทย

- Hand functions

- Hand pretension

- Eye hands coordination

- Cognition ( attention, memory, sequencings )

- Sensory of hand and special sensory

- Bilateral hand

- Muscle strength of hand

- Endurance of hand

Endurance of hand

Pain of UE joints

2.การสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ

Communication

Social skills

Cognition ( language )

-

3.ยืนทำอาหารเป็นเวลานานประมาน 6 – 8 ชั่วโมง/วัน

Standing Balance

Endurance of foot

Muscle strength of foot

Endurance of foot

Pain of LE joints

4.เดินนำอาหารไปไว้ที่เคาเตอร์

Balance

Walk and mobility

Eye foot coordinate

Basic cognition

Walk and mobility

Problem list

1.ผู้รับบริการไม่มีงานประจำ

2.ผู้รับบริการไม่สามารถทำอาหารโดยใช้มือได้เป็นเวลานานติดต่อกัน

3.ผู้รับบริการไม่สามารถยืนทำอาหารได้นานติดต่อกันเป็นเวลานาน

4.ผู้รับบริการมีการปวดเมื่อเคลื่อนย้ายร่างกาย เช่น เดินไปเคาเตอร์

5.ภาระหนี้สินที่บ้านและต้องเลี้ยงดูแม่

Goal

1.ผู้รับบริการสามารถกลับไปทำงานตามความสนใจ(Return to work) ได้ภายในระยะเวลา 1 เดือน

2.ผู้รับบริการลดอาการปวดที่ข้อของ UE และ LE ได้ภายในระเวลา 1 สัปดาห์

3.ผู้รับบริการสามารถรู้วิธีจัดการความปวดของข้อ ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

Intervention

Goal

Intervention

1.ผู้รับบริการลดอาการปวดที่ข้อของ UE และ LE ได้ภายในระเวลา 1 สัปดาห์

FoR: Physical rehabilitation , Biomechanics , Psychosocial

Approach: inhibit

Technique: teaching and learning process , counseling , ROM(PROM AROM) , energy conservation, Positioning

Intervention:

  • ให้ผู้บำบัดทำการ PROM, massage และ joint mobility แนะนำให้กลับไปทำที่บ้านและทำเป็นประจำสม่ำเสมอ
  • ให้ผู้บำบัดให้คำแนะนำเมื่อเกิดอาการนิ้วล็อค คือ การให้งอทุกข้อก่อนจะคายนิ้วที่ล็อค การแนะนำการพักเมื่อทำกิจกรรมอยู่เป็นเวลานาน ให้นั่งลงเมื่อยืนทำอาหารเป็นเวลานาน และให้มีตารางการพักที่ถี่มากขึ้น
  • ให้ผู้รับบริการiใช้เทคนิค RICE เพื่อลดอาการปวดของข้อในบริเวณต่างๆ

2.ผู้รับบริการสามารถรู้วิธีจัดการความปวดของข้อ ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

FoR: Psychosocial

Approach: Promote

Technique: teaching and learning process , counseling , environmental modification , energy conservation , therapeutic relationship

Intervention:

  • ส่งเสริมให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงตัวโรคและการดำเนินของโรค
  • ให้ผู้บำบัดให้คำแนะนำเมื่อเกิดอาการนิ้วล็อค คือ การให้งอทุกข้อก่อนจะคายนิ้วที่ล็อค การแนะนำการพักเมื่อทำกิจกรรมอยู่เป็นเวลานาน ให้นั่งลงเมื่อยืนทำอาหารเป็นเวลานาน และให้มีตารางการพักที่ถี่มากขึ้น
  • ปรับสภาพบ้านให้มีความเหมาะสมกับผู้รับบริการ คือ อุปกรณ์ที่ต้องใช้อยู่ประจำจะอยู่ใกล้กันและไม่เกินความสามารถในการหยิบจับ เพื่อลดการเคลื่อนย้ายตัวที่มากของผู้รับบริการ

3.ผู้รับบริการสามารถกลับไปทำงานตามความสนใจ(Return to work) ได้ภายในระยะเวลา 1 เดือน

FoR : Physical Rehabilitation FOR

Approach: Promote

Intervention :

  • Work conditioning
  • Work hardening
  • Environmental modification
  • ฝึกการทำอาหารไทย โดยมีการจัดตารางการพัก ทำ 5 จาน แล้วจึงพัก 10 นาที
  • ผู้รับบริการทดสอบการใช้ภาษาอังกฤษให้คล่องแคล่วในการสื่อสาร
  • ฝึกการทำอาหารโดยมีการกำหนดเวลาในการทำในแต่ละจาน
  • มีการจัดตารางเวลาให้เหมาะสมทั้งความต้องการของเจ้านายและของตนเอง
  • ผึกภาษาอังกฤษที่มีความจำเป็นในร้านอาหาร เช่น ชื่อเมนูอาหาร คำศัพท์ที่จำเป็นในร้านอาหาร
  • จำลองการทำอาหารจนไปถึงการนำไปวางที่เคาเตอร์ และมีการกำหนดเวลาพักที่แน่นอน
  • ปรับให้อุปกรณ์ในการทำอาหารที่จำเป็นตามหน้าที่ของตนอยู่ใกล้ตัว เพื่อลดการเคลื่อนย้ายตัว
  • ปรับให้ขนาดโต๊ะและเก้าอี้มีความพอดีกับตัวผู้รับบริการ ไม่สูงเกินไป หรือเตี้ยจนเกินไป
  • แนะนำให้เจ้าของติดตั้งรางในการส่งอาหารไปที่เคาเตอร์ เพื่อความสะดวกของผู้รับบริการแม่ครัวท่านอื่น
  • ให้คำแนะนำในสิ่งที่ตนเองต้องการจะทำ จากแบบประเมิน interest checklist
  • ให้ผู้รับบริการมีการเขียนบันทึกประจำวัน ว่าในแต่ละวันต้องทำอะไรบ้าง ถ้าทำไปแล้วก็ทำเครื่องหมายไว้
  • ใช้การฝึก STOMP สำหรับผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม
  • ให้กิจกรรมที่ช่วยส่งเสริม memory orientation และ attention เช่น การจำสิ่งของแล้วเดินไปหยิบ การเขียนบันทึกประจำวันโดยมีนักกิจกรรมบำบัดดูแลอย่างใกล้ชิด
  • ให้ผู้รับบริการฝึกความจำสิ่งของที่จำเป็นในการทำสวนและปลูกพืช
  • ให้ผู้รับบริการเข้าใจขั้นตอนในการทำ แต่ละขั้นตอนในการทำสวน
  • ให้ผู้รับบริการจัดตารางเวลาประจำวัน ร่วมถึงการจัดตารางประจำปี เพื่อดูระยะการเก็บเกี่ยว การเริ่มปลูก
  • ให้ผู้รับบริการจัดการเวลาพักของตนเองในขณะทำสวน โดยทำให้การพักมีอยู่บ่อยครั้งขึ้น
  • สถานการณ์จำลอง ให้เกิดปัญหาในการเพาะปลูกให้ผู้รับบริการแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือขอคำปรีกษาจากครอบครัว
  • ให้การพูดคุยระหว่างผู้บำบัดและผู้รับบริการ ในหัวข้อเรื่องทั่วไปที่ผู้รับบริการสนใจ และยอมรับความคิดเห็นจากผู้บำบัดได้
  • ให้คุยในหัวข้อทั่วไปกับคนในครอบครัว
  • จำลองสถานการณ์ในการต่อลองราคาซื้อขายผลผลิตทางการเกษตร
  • จำลองสถานการณ์ให้เกิดปัญหาในการติดต่อสื่อสาร และให้ผู้รับบริการคิดวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเองหรือรับฟังความคิดเห็นจากคนในครอบครัว

2.เคสวัย 70 ปีที่เป็นสมองเสื่อมมา 3 ปี ไม่อยากออกสังคม เงียบอยู่คนเดียว เดิมเป็นทนายความ และเครียดด้วยภาระหนี้สินสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ แต่อยากช่วยครอบครัวทำงาน กิจกรรมยามว่างชอบปลูกต้นไม้ทานได้

Person

Environmental

Occupation

Performance

ผู้รับบริการอายุ 70 ปี เป็นโรคสมองเสื่อมมา 3 ปี มีความเครียด อาชีพในอดีตคือทนายความ

มีครอบครัว และมีภาระหนี้สินที่มากจากการสะสมจากคดีความที่ไม่สำเร็จ

ปลูกต้นไม้ทานได้

สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ แต่ไม่อยากเข้าวังคม และชอบอยู่คนเดียว

หารายได้จากกิจกรรมยามว่าง (work as leisure )

อาชีพที่ส่งเสริม ส่งเสริมให้ผู้รับบริการคือปลูกต้นไม้ที่ทานได้ และส่งออกให้กลับร้านค้าในตลาดและโรงงาน

Job analysis

กิจกรรมที่ทำในงาน

องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในการทำกิจกรรม

ความสามารถช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคในการทำงานอย่างไร

1.ปลูกต้นไม้ทานได้

- cognitive (orientation, memory, sequencing, learning, executive functions)

- hand functions

- hand pretension

- muscle endurance

- muscle strength

- Eye hands coordination

- bilateral hands

- cognitive (orientation, memory, sequencing, learning, executive functions)

- muscle endurance

- muscle strength

เนื่องด้วยอายุที่มาก

2.การดูแลรักษาต้นไม้ทานได้

cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

- hand functions

- hand pretension

- muscle endurance

- muscle strength

- Eye hands coordination

- bilateral hands

- Sensory of hand

- cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

- muscle endurance

- muscle strength

เนื่องด้วยอายุที่มาก

3.คิดเงินให้แก่พ่อค้าคนกลางและเก็บเงิน

- cognitive (memory, calculation, executive functions)

- communications skills

- social skills

- cognitive (memory, calculation, executive functions)

- communications skills

- social skills

4.พูดคุยกับพ่อค้าคนกลางเกี่ยวกับผลผลิต ราคาของสินค้า รวมถึงการโฆษณา

- communications skills

- social skills

- cognitive (language, executive functions)

- communications skills

- social skills

- cognitive (language, executive functions)

5.การเก็บผลผลิต

- cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

hand functions

- hand pretension

- muscle endurance

- muscle strength

- Eye hands coordination

- bilateral hands

- Sensory of hand and special sensory

- cognitive (orientation, memory, sequencing, executive functions)

- muscle endurance

- muscle strength

เนื่องด้วยอายุที่มาก

Problem list

1.ผู้รับบริการไม่มีงานที่ทำประจำ

2.ภาระหนี้สินทางบ้าน

3.ความสามารในด้าน cognitive ที่มีความบกพร่องจากภาวะสมองเสื่อมที่เป็นอยู่

4.ความสามารถในการเขาสังคมและการขาดแรงจูงใจในการทำกิจกรรม

Goal

  • ผู้รับบริการสามารถหารายได้จากกิจกรรมยามว่าง (work as leisure ) ภายในระยะเวลา 1 เดือน
  • ผู้รับบริการสามารถทำตามขั้นตอนในการปลูกต้นไม้ ดูและ และเก็บผลผลิตได้ ภายในระยะเวลา 3 สัปดาห์
  • ผู้รับบริการสามารถมีแรงจูงใจในการทำงานและเข้าร่วมสังคม ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

Intervention

Goal

Intervention

1.ผู้รับบริการสามารถหารายได้จากกิจกรรมยามว่าง (work as leisure ) ภายในระยะเวลา 1 เดือน

2.ผู้รับบริการสามารถทำตามขั้นตอนในการปลูกต้นไม้ ดูและ และเก็บผลผลิตได้ ภายในระยะเวลา 3 สัปดาห์

FoR : Physical Rehabilitation FOR

Approach: Promote

Intervention :

  • Work conditioning
  • Work hardening

3.ผู้รับบริการสามารถมีแรงจูงใจในการทำงานและเข้าร่วมสังคม ภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์

FoR: Psychosocial

Approach: Promote

Technique:, therapeutic use of self , counseling , therapeutic relationship

Intervention:

  • ให้คำปรึกษากับผู้รับบริการในการให้คำแนะนำ สร้างแรงบันดาลใจในการพูดคุยสื่อสารกับบุคคลทั่วไป และส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้ทำกิจกรรมที่ตนเองชื่นชอบ
  • Work conditioning
  • Work hardening


แหล่งอ้างอิง

Carrie A. Ciro; Linda A. Hershey. Enhanced Task-Oriented Training in a Person With Dementia With Lewy Bodie. The American Journal of occupational therapy [Internet]. 2013. [cited 2016 Oct 9]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=1863063&resultClick=3

Gloria Platt Furst; Lynn H. Gerber;. A Program for Improving Energy Conservation Behaviors in Adults With Rheumatoid Arthritis. The American Journal of occupational therapy [Internet]. [cited 2016 Oct 9].Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=1882261&resultClick=3

Kristine Carandang; Elizabeth A. Pyatak. Systematic Review of Educational Interventions for Rheumatoid Arthritis. The American Journal of occupational therapy [Internet]. 2016. [cited 2016 Oct 9]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=2569273&resultClick=3

Rosanne DiZazzo-Miller; Preethy S. Samuel. Addressing Everyday Challenges: Feasibility of a Family Caregiver Training Program for People With Dementia. The American Journal of occupational therapy [Internet]. 2014. [cited 2016 Oct 15]. Available from: http://ajot.aota.org/article.aspx?articleid=1864930&resultClick=3

หมายเลขบันทึก: 617102เขียนเมื่อ 17 ตุลาคม 2016 01:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 ตุลาคม 2016 01:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท