​QS University Rankings: Asia 2016


สำหรับเกณฑ์ในการจัดอันดับ QS University Rankings: Asia 2016 ประกอบด้วยตัวชี้วัดด้านความมีชื่อเสียง 50% (Academic reputation 30%, Employer reputation 20%), Faculty/Student ratio 15%, Citations per paper 10%, Papers per faculty 10%, Staff with PhD 5%, Proportion of international faculty 2.5%, Proportion of international students 2.5%, Proportion of inbound exchange students 2.5%, Proportion of outbound exchange students 2.5%

QS University Rankings: Asia 2016

ผมได้รับ อีเมล์ จาก รศ. ดร. มงคล รายะนาคร ดังต่อไปนี้

เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2559 QS Quacquarelli Symonds Ltd. ได้ประกาศผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย เอเชียประจำปี ค.ศ. 2016 ที่เรียกว่า QS University Rankings: Asia 2016 ที่เว็บไซต์ http://www.topuniversities.com/university-rankings

ปรากฏผลอันดับ (พร้อมคะแนน) ที่น่าสนใจดังต่อไปนี้

Asia Top 10 ได้แก่ 1 National University of Singapore (NUS) (100), 2 The University of Hong Kong (98.5), 3 Nanyang Technological University (NTU) (98.4), 4 The Hong Kong University of Science and Technology (98.0), 5 Tsinghua University (97.1), 6 Korea Advanced Institute of Science & Technology (KAIST) (96.9), 7 City University of Hong Kong (96,.4), 8 The Chinese University of Hong Kong (CUHK) (96.0), 9 Peking University (95.6), 10 Seoul National University (95.2)

ประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN) มีมหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดอันดับ 1-200 ใน QS University Rankings: Asia 2016 ตามลำดับ ดังนี้

Rank

University

Country

Score

1

National University of Singapore (NUS)

Singapore

100

3

Nanyang Technological University (NTU)

Singapore

98.4

27

Universiti Malaya (UM)

Malaysia

84.9

45

Chulalongkorn University (CU)

Thailand

69.8

49

Universiti Putra Malaysia (UPM)

Malaysia

67.8

51

Universiti Sains Malaysia (USM)

Malaysia

66.7

55

Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM)

Malaysia

65.6

60

Singapore Management University (SMU)

Singapore

62.6

61

Mahidol University (MU)

Thailand

62.5

63

Universiti Teknologi Malaysia (UTM)

Malaysia

61.9

67

Universitas Indonesia (UI)

Indonesia

61.0

70

University of the Philippines (UP)

Philippines

58.4

86

Bandung Institute of Technology (ITB)

Indonesia

54.5

99

Ateneo de Manila University (AMU)

Philippines

47.8

101

Thammasat University (TU)

Thailand

47.4

104

Chiang Mai University (CMU)

Thailand

47.0

123

Universiti Brunei Darussalam (UBD)

Brunei

42.4

127

Universiti Teknologi Petronas (UTP)

Malaysia

41.4

129

Kasetsart University (KU)

Thailand

40.9

137

Universiti Utra Malaysia (UUM)

Malaysia

39.1

139

Vietnam National University, Hanoi (VNU-H)

Vietnam

39.0

143

De La Salle University

Philippines

38.6

147

Vietnam National University-Ho Chi Minh City (VNU-HCMC)

Vietnam

38.0

151

International Islamic University Malaysia (IIUM)

Malaysia

37.7

157

University of Santo Tomas (UST)

Philippines

36.8

161

King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT)

Thailand

35.0

165

Khon Kaen University (KKU)

Thailand

34.3

179

Taylor’s University

Malaysia

32.4

181

Universiti Teknologi MARA (UiTM)

Malaysia

32.2

185

Prince of Songkla University (PSU)

Thailand

31.8

190

Airlangga University (AU)

Indonesia

31.1

191

Bogor Agricultural University (BAU)

Indonesia

31.0

193

Multimedia University (MMU)

Malaysia

30.9

มหาวิทยาลัยในประเทศไทย นอกจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ได้รับการจัดอันดับอยู่ในระดับ Asia Top 200 แล้ว ยังมีมหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มถัดไปอีกคือ อันดับ 251-300 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อันดับ 301-350 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สำหรับเกณฑ์ในการจัดอันดับ QS University Rankings: Asia 2016 ประกอบด้วยตัวชี้วัดด้านความมีชื่อเสียง 50% (Academic reputation 30%, Employer reputation 20%), Faculty/Student ratio 15%, Citations per paper 10%, Papers per faculty 10%, Staff with PhD 5%, Proportion of international faculty 2.5%, Proportion of international students 2.5%, Proportion of inbound exchange students 2.5%, Proportion of outbound exchange students 2.5% โดยมีรายละเอียดที่สามารถดูได้ที่ http://www.topuniversities.com/asia-rankings/methodology

อนึ่ง นอกเหนือจากอันดับที่ได้จากการนำคะแนนจากตัวชี้วัดทุกด้านมาพิจารณารวมกันแล้ว ผู้ที่สนใจยังสามารถดูอันดับเฉพาะด้านได้อีกด้วย สำหรับประเทศไทย ถ้าดูเฉพาะตัวชี้วัดด้าน Faculty/Student ratio มีมหาวิทยาลัยที่อยู่ใน Asia Top 200 ได้แก่อันดับ 47 มหาวิทยาลัยมหิดล 170 มหาวิทยาลัยบูรพา 174 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 187 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในขณะที่ในด้าน International students ได้แก่อันดับ 1 Asian Institute of Technology 163 มหาวิทยาลัยมหิดล 179 University of the Thai Chamber of Commerce และ 196 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในด้าน Staff with PhD ได้แก่อันดับ 23 Asian Institute of Technology 51 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 87 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 129 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 151 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 165 มหาวิทยาลัยนเรศวร 172 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 185 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 194 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง 197 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ 199 มหาวิทยาลัยมหิดล

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

รศ. ดร. มงคล รายะนาคร

หมายเลขบันทึก: 608439เขียนเมื่อ 16 มิถุนายน 2016 05:02 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 มิถุนายน 2016 05:02 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

อาจารย์ครับ

ข้อมูลข้างบนน่าจะดูอะไรผิด หรืออ้างอะไรผิดสักอย่าง เพราะข้อมูลของ QS Ranking 2016 ยังไม่มีมหาวิทยาลัยติด World Top 200 ครับ อันดับแรกของเรา คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ติดอันดับที่ 253 และ มหาวิทยาลัยมหิดล อันดับ 295 ครับ

ต้องขออภัยเป็นอย่างยิ่งครับ ท่านผู้โพสต์ข้างบนนั้น ท่านหมายถึง 200 อันดับแรกของมหาวิทยาลัยในเอเซีย (Asia Top 200) ซึ่งก็คงถูกต้องครับ แต่ของผมหมายถึง World Top 200 ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท