การทับซ้อนของที่ดินในประเทศไทย


การทับซ้อนของที่ดินในประเทศไทย


ที่ดินที่ทับซ้อนก้น ของหน่วยราชการด้วยกัน ของเอกชนด้วยกัน ของหน่วยราชการและเอกขน

นั้น หากมองอย่างผิวเผิน การทับซ้อนกันน่าจะเป็นแบบขนมชั้น (รูปทรงเดียวกัน)

แต่ในความเป็นจริงเป็นการทับซ้อนกัน แบบ โพดำ ทับ โพแดง ทับ ข้าวหลามตัด ทับดอกจิก

(ทับซ้อนต่างรูปทรงกัน หลายชั้น) เป็นที่มาของคำว่า "เอกสารสิทธิ์บิน"

เป็นเหตุให้เมื่อนำผลรวมของที่ดินที่ออกเอกสารสิทธิ์ต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานมารวมกัน แล้ว จะได้ปริมาณ

พื้นที่ มากกว่าที่ดินของประเทศไทยที่มีอยู่จริง

ปัจจุบันคดีความต่าง ๆ ในเรื่องที่ดินทับซ้อน มีอยู่มากมายในขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรม

หากใช้ มาตรา 44 ในการขจัดปัญหาที่ดินทับซ้อนของประเทศไทย ได้ก็จะเป็นการดียิ่ง

พีระพงศ์ วาระเสน

12 พฤษภาคม 2559

คำสำคัญ (Tags): #ที่ดินทับซ้อน
หมายเลขบันทึก: 606280เขียนเมื่อ 12 พฤษภาคม 2016 09:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 พฤษภาคม 2016 10:15 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท