ทำอย่างไรให้ความรู้อยู่นาน


วันนี้ดิฉันได้เรียนเกี่ยวกับหลักฐานเชิงประจักษ์ ก่อนที่จะไปสู่คำว่าหลักฐานเชิงประจักษ์ เรามารู้จักกับข้อมูลกันก่อน

ข้อมูลต่างๆที่เราได้รับในแต่ละครั้ง เราเรียกมันว่า ความรู้แบบมาเร็วไปเร็ว (Fast Knowledge) ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปสักช่วงหนึ่งเราจะลืมมัน แล้วเราเราจะทำอย่างไรให้มันอยู่กับเรานาน เราจะเปลี่ยนจาก Fast Knowledge เป็น Slow Knowledge ได้อย่างไร

จำแลง คือ การที่เรารวบรวมเอกสารประกอบการเรียนหลังจากเรียนจบ (มีความจำเป็นชั่วครู่)

จำลอง คือ มีความจำเป็นหลายครั้ง การสืบค้นข้อมูลต่างๆเพิ่มเติม

จำเป็นอย่างยิ่ง คือ เราปรึกษาผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่เราสนใจ

จำเป็นที่สุด คือ การที่ดิฉันเอาความรู้ที่ได้จากการเรียนมาเขียนบันทึก เรียกว่า หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence based Practice)

หมายเลขบันทึก: 583572เขียนเมื่อ 7 มกราคม 2015 11:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 มกราคม 2015 11:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท