ความรู้ Fast and Slow


การเรียนในวันนี้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ Fast knowledge และ Slow knowledge

- การดำเนินชีวิตที่จับต้องไม่ได้ เป็นข้อมูลที่เราได้มาเรียกว่า ความรู้ที่มาเร็วไปเร็ว หรือเรียกง่ายๆว่าเรียนรู้ได้สักพักก็ลืม (Fast knowledge)

- กิจกรรมการดำเนินชีวิตที่สามารถจับต้องได้และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้จริง (Slow knowledge) เช่น เวลาเราศึกษาcaseผู้ป่วยแต่ละcase เราได้ลงมือปฏิบัติกับผู้ป่วยรายนั้นเลย ได้เห็นcaseนั้นจริงๆ รวมทั้งได้ระดมความรู้ร่วมกับผู้รู้หรืออาจารย์ ซึงเป็นความรู้ที่จับต้องได้

เราต้องเปลี่ยนความรู้จากการเรียนรู้แบบ Fast knowledge เป็น Slow knowledge ต้องสืบค้นข้อมูลให้สามารถจำต้องได้ เกิดจากการเรียนรู้ไปลงมือทำไปถือว่าเป็นความรู้จริงๆ จึงกลายเป็น หลักฐาน (Evidence)

  • หลักฐานจำแลง จะจำเป็นเฉพาะเรื่องนั้นๆ เป็นความรู้แบบ Fast knowledge เช่น การนำเอกสารมารวมเล่มไว้
  • หลักฐานที่เป็นความรู้แบบ Slow knowledge แบ่งเป็น 3 แบบคือ

1. หลักฐานจำลอง (Slow knowledge ที่1) คือการสืบค้นข้อมูลจากวารสาร หรือ Journal

2. หลักฐานจำเป็น ( Slow knowledge ที่2 ) คือการพบผู้รู้ และฝึกทำ

3. หลักฐานที่จำเป็นที่สุด (Slow knowledge ที่3) คือการจดเป็นลายลักษณ์อักษร หรือหลักฐานเชิงประจักษ์

Slow knowledge ที่1และ Slow knowledge ที่2 จำเป็นอย่างยิ่งเพราะต้องฝึกทำไปด้วย



หมายเลขบันทึก: 583570เขียนเมื่อ 7 มกราคม 2015 10:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 มกราคม 2015 10:51 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท