ผู้หลักผู้ใหญ่ในงาน Worlddidac Asia 2013


วันที่ 9-11 ตุลาคม 2556 ผมมีโอกาสไปร่วมงาน Worlddidac Asia 2013 และงานประชุมผู้นำการศึกษาระดับชาติ กลับมาถึงบ้าน จะเขียนบันทึกจึงลองสืบค้นบนเน็ต พบว่า บริษัทที่จัดงานไม่ได้เก็บข้อมูลการจัดงานในปีที่ผ่านๆ มาไว้นานนัก (เห็นบ้างคือครั้งที่ผ่านมาที่นี่) ผมเลยขออนุญาต คัดลอก มาบอกไว้ตรงนี้ เผื่อจะมีใครอยากรู้ในวันหน้าครับ (พิจารณาแล้วว่า เป็นการศึกษา ไม่น่าจะผิดลิขสิทธิ์ใดๆ)

ประวัติวิทยากร
 
ฯพณฯ นายจาตุรนต์ ฉายแสง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ปาฐกถาพิเศษ: “บูรณาการความร่วมมือทางการศึกษาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน
ประวัติส่วนตัว
  • เกิดเมื่อ 1 มกราคม พ.ศ.2499
  • คู่สมรส นางจิราภรณ์ ฉายแสง (เปี่ยมกมล)
  • twitter - chaturon / facebook - Chaturon Chaisang
ประวัติการศึกษา
  • มัธยมศึกษา  โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
  • ปริญญาตรี  เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
  • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอเมริกัน วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา
ประวัติการทำงาน
  • 27 กรกฎาคม 2529  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา เขต 1 พรรคประชาธิปัตย์
  • 24 สิงหาคม 2531  กรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน
  • 24 กรกฎาคม 2531  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฉะเชิงเทรา เขต 1 พรรคประชาชน
  • 22 มีนาคม 2535  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฉะเชิงเทรา เขต 1 พรรคความหวังใหม่
  • 19 ตุลาคม 2535  กรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
  • 1 มีนาคม 2538  โฆษกพรรคความหวังใหม่
  • 2 กรกฎาคม 2538  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฉะเชิงเทรา เขต 1 พรรคความหวังใหม่
  • 8 สิงหาคม 2538  ประธานคณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 17 พฤษภาคม 2539  โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
  • 29 พฤศจิกายน 2539  รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
  • 27 เมษายน 2542  เลขาธิการพรรคความหวังใหม่ รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย
  • 6 มกราคม 2544  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย
  • 17 กุมภาพันธ์ 2544  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
  • 27 มกราคม 2545  รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย
  • 5 มีนาคม 2545  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม คนที่ 38
  • 3 ตุลาคม 2545  รองนายกรัฐมนตรี
  • 6 กุมภาพันธ์ 2548  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย
  • 11 มีนาคม 2548  รองนายกรัฐมนตรี
  • 2 สิงหาคม 2548 - 19 กันยายน 2549  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 2 เมษายน 2549  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย
  • 13 ตุลาคม 2549  รักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย
  • 30 มิถุนายน 2556 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
  • มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
  • มหาวชิรมงกฎ (ม.ว.ม.)
 
 
Prof. Dr. Rajata Rajatanavin, M.D., FRCP, F.A.C.E.
President, Mahidol University
Professor of Medicine, Division of Endocrinology and Metabolism Department of Medicine Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital

Topic: “Implication and Implementation of Seven – 21st Century Skills:
             How We Effectively Build a Better Future of ASEAN Education?”
      
Dr. Rajata  Rajatanavin studied medicine at Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. After graduation in 1975, He entered residency training in Internal Medicine at the same institute. Between 1981-1983, he joined the division of Endocrinology and Metabolism at University of Massachusetts Medical School in Worcester, Massachusetts as research and clinical fellow.
Dr. Rajata joined Department of Medicine Ramathibodi Hospital in 1983. His research focused in two areas, iodine deficiency disorders (IDD) and metabolic bone disease, in particular osteoporosis. His work on IDD has assisted the Ministry of Public Health to draw strategies for eradication of IDD. His work on osteoporosis alerted Thai medical society and Thai society to prepare for the adverse effect of osteoporosis. Dr.Rajata was awarded senior research scholar from The Thailand Research Fund in 1998 and went on to receive the best scientist award of Thailand in 2003. He is now fellow of the Royal College Physicians of London and fellow of the American College of Endocrinology.
Dr. Rajata became chairman of the of department of medicine 1997. He then became Dean of Faculty of Medicine. During his term, he was successful
in securing US $ 200 millions from the government to build a new medical school in 130 acre of land. It will be a 400 - bed university hospital and completely new curriculum will be prepared. Dr. Rajata assumed position of president of Mahidol University in December 2011. In 2012, he has initiated Mahidol University Global Health, a platform to connect the university to the rest of the world in pursuit of the best healthcare for all mankind.
 
 
ดร. กวาง โจ-คิม
ผู้อำนวยการ
สำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (ยูเนสโก กรุงเทพฯ)

หัวข้อ: “การศึกษาของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเคลื่อนไหลในยุคโลกาภิวัตน์ และยุคประชาคมอาเซียน อะไรคือโอกาส อะไรคือความท้าทาย”

ดร. กวาง โจ-คิม เกิดในประเทศเกาหลี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเกาหลี(2521)ระดับปริญญาโท(2527) และระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ‎สหรัฐอเมริกา(2537)
ก่อนที่จะเป็นผู้อำนวยการสำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและ แปซิฟิกในปี 2552 ดร.คิม ได้ทำงานให้กับรัฐบาลของสาธารณรัฐเกาหลี โดยช่วยอดีตประธานาธิบดี คิม ย็อง-ซัม ริเริ่มการปฏิรูปการศึกษา ปรับโครงสร้างทั้งระบบ และในฐานะรัฐมนตรีช่วยว่าการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เขาได้ประสานงานนโยบายการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ และริเริ่ม “Global Human Resources Forum” เวทีในการแบ่งปันความรู้นานาชาติในด้านการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ดร.คิม เคยทำงานเป็นผู้เชี่ยวชาญการศึกษาอาวุโสที่ธนาคารโลก ในฐานะที่เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (ยูเนสโก กรุงเทพฯ) ดร.คิม รับผิดชอบในส่วนของการจัดการหุ้นส่วน  ความสัมพันธ์ทรัพยากรมนุษย์ และการจัดการงบประมาณและการเงิน อีกทั้งยังเป็นสมาชิกสมาคมมากมายที่เกี่ยวกับนโยบายการศึกษา การเงินและเศรษฐศาสตร์ และมีผลงานตีพิมพ์ด้านการศึกษาและICT และการปฏิรูปการศึกษาในสาธารณรัฐเกาหลี
 
 
มร. มาคัส วาห์ ออน ลิม
ผู้อำนวยการฝ่ายขาย ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค
บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็ม (ยูเอสเอ)

หัวข้อ: “นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา: ปลุกพลังการเรียนรู้ด้วยพลังเทคโนโลยีสารสนเทศ ประสบการณ์ตรงจากกูรูไอซีทีระดับโลก”
มร. มาคัส วาห์ ออน ลิม เป็นผู้อำนวยการฝ่ายขาย ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค รับผิดชอบในส่วนของการพัฒนาโซลูชั่น และโอกาสทางการตลาดกับลูกค้าเพื่อการศึกษาที่สูงขึ้น และในส่วนของโรงเรียน
มร. ลิม เข้าร่วมซิสโก้ ในปี 2541 และเริ่ม Cisco Networking Academy Program ทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในช่วงห้าปีแรก โปรแกรมได้เสนอแก่โรงเรียนมากกว่า 1,000 แห่ง ใน 24 ประเทศ และผลิตผู้สำเร็จการศึกษากว่า 30,000 คน
ก่อนที่จะเข้าร่วมซิสโก้ มร.ลิมดำรงตำแหน่ง Area Education Manager เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใน Novell และเคยเป็น  Network Consultant สำหรับ ASEAN for Public Sector segment
เขาได้ดำรงตำแหน่งมากมาย รวมถึงหัวหน้าศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ Information Communication Institute of Singapore ซึ่งเป็นการร่วมธุรกิจระหว่าง National Computer Board และ AT&T
มร. ลิมสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิศวกรรม ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ จากมหาวิทยาลัยเอดินบะระ มร.ลิมเป็นประธาน และ Chief Judge ของ Singapore Worldskills Technical Working Committee for IT-Network Systems Administration category อีกทั้งเป็นสมาชิกของ ITE Electronics & IT Academic Advisory Committee และ Singapore Polytechnic Diploma course review
 
 
มิส นาตาชา สติลเวลล์
Head of Content
บริษัท ทวิก เวิลด์ จากัด

หัวข้อ: “นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา: ปลุกพลังการเรียนรู้ด้วยพลังเทคโนโลยีสารสนเทศ ประสบการณ์ตรงจากกูรูไอซีทีระดับโลก”
มิส นาตาชา สติลเวลล์ ดารงตาแหน่ง Head of Content บริษัท ทวิก เวิลด์ จากัด

ทวิก เวิลด์ เป็นผู้ผลิตสื่อการศึกษาดิจิตอลในตลาดโลก ทวิกได้ผลิตหนังสั้นซึ่งได้นาไปใช้และสร้างความเข้าใจให้กับนักเรียนในชั้น เรียนมากกว่า 30 ประเทศ

มิส นาตาชา สติลเวลล์ เป็นนักข่าวที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ซึ่งมีประสบการณ์การทางานมาแล้วทั่วโลก

ในอเมริการเหนือ เธอเป็นผู้จัดและผู้ผลิตรายกา ช่อง Discovery Channel Canada และได้รับรางวัล multi-award winning science and technology show อีกทั้งจัดรายการ Discoveries This Week for the US Science Channel และเธอเป็นผู้ริเริ่มรายการการศึกษาผ่านสื่อ

ในลอนดอน เธอเป็นผู้สื่อข่าวให้กับ Discovery ผู้ผลิตและผู้สื่อข่าวของบีบีซี และเขียนบทความทางวิทยาศาสตร์แก่หนังสือพิมพ์เดอะไทมส์ มิส นาตาชา สติลเวลล์ ทาให้ผู้ชมเข้าใจวิทยาศาสตร์และความลี้ลับของโลกได้อย่างสนุกและน่าติดตาม
เธอร่วมงานกับ บริษัท ทวิก เวิลด์ จากัด ในปี 2554
 
 
Mr. Dominic Savage
Global Relations Advisor
Director General
British Education Suppliers Association (BESA)

Topic: “Innovation in ICT Education: Make Learning Irresistible through a Power of ICT- Listen to the Lessons Learned from Pioneers Around the World”
Mr. Dominic Savage has spent his whole career in the educational industry and as Director General of the British Educational Suppliers Association (BESA) since 1984. He has worked on the Education World Forum for a number of years and as Forum Director since 2011. He founded BETT in 1985.
He recently stepped down after six years as President of Worlddidac but continues as Chairman of the Worlddidac Quality Charter. He sits on a variety of UK committees and working groups on education, particularly in relation to new technologies and international trade and is a member of the UK Government’s International Education Council.
He is Chair of TVET UK, developing a unique and comprehensive offering for vocational training projects worldwide. He is a trustee World e-Citizens and previously of the e-Learning Foundation and has served as a member of the ESRC education research grants committee.
He is Chair of Governors of a London Technology College and Teaching School.
Originally an electronic engineering graduate from the University of Wales, he is an LRAM, a Fellow of the Institute of Association Management and in 2013 was made an Honorary Fellow of the College of Teachers.
He received the OBE in 1997 for services to education and is married to a teacher with three adult ‘children’.
 
 
มร. คริส สมิธ
ผู้ก่อตั้งและผู้สร้างสรรค์เว็บไซด์เดอะ แชมเบิ้ลส์ (The Shambles Website)

หัวข้อ“นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา: ปลุกพลังการเรียนรู้ด้วยพลังเทคโนโลยีสารสนเทศ ประสบการณ์ตรงจากกูรูไอซีทีระดับโลก”
มร. คริส สมิธ ทำงานร่วมกับอาจารย์ในโรงเรียนนานาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากว่า 25 ปี เคยเป็นที่ปรึกษาด้าน ICTให้กับ English School Foundation (ESF) ในฮ่องกง โดยเป็นหัวหน้าฝ่าย Professional Development Centre และมีหน้าที่ในการร่าง ดำเนินการ ตรวจสอบ และประเมินผลโดยรวมแผนพัฒนา ICT
ในปี 2002 มร. คริส สมิธ ได้ตั้ง consultancy ของ “The Education Project Asia” เพื่อขยายโอกาสในการสนับสนุนโรงเรียนนานาชาติอื่นกว่า 17 ประเทศทั่วโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเน้นการบูรณาการ ICT สำหรับการเรียนการสอน
งานด้านอื่นๆ รวมถึงการเป็นผู้ประเมินของ UNESCO project (SchoolNet) ซึ่งเกี่ยวข้องกับโรงเรียนจากแปดประเทศในกลุ่มอาเซียนและการประชุมจากทั่ว ภูมิภาค
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 เขาเป็นวิทยากรที่งานประชุม TEDx จัดขึ้นในกรุงเทพฯ http://TEDxBKK.com
http://youtu.be/P9IXELD6g7A
เขาเป็นที่รู้จักของอาจารย์ทั่วโลก จากเว็บไซต์ "Shambles" http://www.shambles.net  ซึ่งเขาเป็นคนก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2545
ในปี 2550 เขาได้จัดตั้งโรงเรียน International Schools Island in Second Life (3D online virtual world) ซึ่งตัวตนจำลองของเขาคือ "Shamblesguru Voom" ซึ่งหากค้นคำว่า 'Shamblesguru'ในกูเกิลคุณจะพบว่ามีการค้นหามากกว่า "Chris Smith"
สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมติดตามได้ที่www.shambles.net/csmith/pln
ทวิตเตอร์ http://www.twitter.com/shamblesguru
 
 
มร. ลี ไค เฉิน
ผู้อำนวยการภาคการศึกษา
แมคคินซี่ แอนด์ คอมพานี เอเชีย

หัวข้อ: “การพัฒนาระบบการศึกษาและคุณภาพประชากรของอาเซียน – เราจะรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของโลกและความต้องการในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร?”
             
มร. ลี ไค เฉิน เป็นหุ้นส่วนของ แมคคินซี่ แอนด์ คอมพานี ในมาเลเซีย ก่อนหน้านี้เขาอยู่ที่สำนักงานแมคคินซี่ในประเทศสิงคโปร์ และได้ให้บริการลูกค้าทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศจีน เกาหลี และตะวันออกกลาง มร. ลี ไค เฉิน เป็นผู้นำภาคการศึกษาของแมคคินซี่ในเอเชีย ผลงานล่าสุดของเขามุ่งเน้นการปฏิรูประบบการศึกษา และความร่วมมือของภาครัฐและเอกชนในภาคการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและทั่วโลก
นอกจากนั้น ในด้านการบริการลูกค้า มร. ลี ไค เฉิน ดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับระบบการศึกษาทั่วโลก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางปฏิบัติทางการศึกษาของแมคคินซี่ สิ่งพิมพ์ล่าสุดของเขาได้แก่ “How The World’s Most Improved School Systems Keep Getting Better,” “How The World’s Best-Performing School Systems Come Out On Top,”“Education to Employment: Designing a System that Works.”
มร. ลี ไค เฉิน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท บริหารธุรกิจจากโรงเรียนบริหารธุรกิจฮาร์ดวาร์ และสาขาวิทยาศาสตร์จาก University of Reading และปริญญาตรีจาก University of Central England
 
 
ศาสตราจารย์ นพ. วิจารณ์ พานิช
กรรมการและประธานกรรมการกิจกรรมเพื่อสังคม
มูลนิธิสยามกัมมาจล

หัวข้อ การพัฒนาระบบการศึกษา และคุณภาพประชากรของอาเซียน เราจะรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของโลกและความต้องการในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร?”
ศาสตราจารย์ นพ. วิจารณ์ พานิช เกิดในปี 2485 ทางใต้ของประเทศไทย หลังจากสำเร็จการศึกษาจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล จากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) และชดใช้ทุนเป็นเวลาหนึ่งปี ได้ไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน ในสาขามนุษยพันธุศาสตร์จาก ในปี 2510 - 2511
ศจ. นพ. วิจารณ์ป็นอาจารย์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สอนด้านโลหิตวิทยาและพันธุศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี 2511 – 2517 และทำงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะขาดเอนไซม์จีซิกพีดีและทาลัสซีเมีย และได้ย้ายไปดำรงตำแหน่ง หัวหน้าภาควิชาพยาธิวิทยา รองอธิการบดี และคณบดีคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ในปี 2536 – 2544 ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรก ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ซึ่งได้วางรากฐานระบบการทำวิจัยที่เป็นประโยชน์แก่ประเทศ ในปี 2546-2551 ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ได้พัฒนาแนวทางการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับภาคส่วนต่างๆในไทย สคส.สร้างเครือข่ายเพื่อนำประเทศไทยสู่ “สังคมการเรียนรู้”
ในปี 2552 - 2554  ศจ. นพ. วิจารณ์ พานิช ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำรงตำแหน่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยต่างๆกว่า 10 สถาบัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล และกรรมการสภามหาวิทยาลัยอีก 2 แห่ง และดำรงตำแหน่ง กรรมการบริหาร มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ เป็นเวลา 20 ปี จนถึงเดือน กรกฎาคม 2555 และเป็นกรรมการบริหารสถาบันคลังสมองของชาติ กรรมการธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และเป็นประธานคณะกรรมการอีกว่า 10 มูลนิธิ
ศจ. นพ. วิจารณ์ สมรสกับ ศ.พญ.อมรา (เศวตวรรณ) พานิช มีบุตรธิดา 4 คน
 
 
Mr. Dominic Regester
Deputy Director Education, East Asia
The British Council

Topic: “ASEAN Education and Training for Human Resources Development:
  How to Cope with Global Changes and Future Demand in the 21st Century?”
EMPLOYMENT
July 2013 - Deputy Director Education, East Asia, based in Jakarta
Responsibilities include:
  • Regional lead for schools work in British Council across East Asia (excluding China), responsible for customisation and implementation of global British Council programme and development of local national or regional schools work
  • Responsible for new product development especially around international collaboration and school leadership
  • Support for regional teams across education portfolio (including higher education and skills)
  • Member of British Council global schools leadership team
July 2011 - Present: Schools Programme Development Manager for wider South Asia, based in Dhaka, Bangladesh.
Responsibilities include:
  • Design and delivery of new British Council / DFID funded schools programme in Afghanistan, Bangladesh, Nepal, Pakistan and Sri Lanka. Customisation of a global programme for the South Asian context and design of south Asia specific strands including student voice
  • Lead the transition from the current schools programmes into a unified single programme 
  • Relationship management with Ministries of Education, local NGOs, INGOs national education sector reform agencies, teacher training centres
  • Needs analysis of appropriate teacher and leadership professional development interventions for British Council schools programme (in consultation with Ministries of Education)
  • Design and organisation of regional policy dialogue programme
  • Design of monitoring and evaluation strategy and instruments for wider South Asia
  • Budget management of £1.6m per annum
  • Team leader for a dispersed team of 25 people across six countries, line manager of staff in Pakistan and Bangladesh
  • Member of British Council global schools’ leadership team and BC Bangladesh senior leadership team
Achievements include:
  • Schools projects delivered on time and on budget, meeting or exceeding audience targets for 2011-12
  • Developed new strategic arrangement with Ministry of Education in Afghanistan for BC schools programmes
  • Expanded partnership with UNESCO to co-fund and co-deliver Project Based Learning course in Pakistan
  • Expansion of schools programmes so there are now more than 1000 schools across the region actively involved
July 2008 – July 2011: British Council, Regional Schools Project Manager for Central and South Asia, based in Dhaka, Bangladesh
Responsibilities included:
  • Project management of British Council’s Connecting Classrooms programme in Central and South Asia which involved more than 400 schools across Afghanistan, Bangladesh, Kazakhstan and Pakistan and in the UK
  • Co-designing and delivering leadership and teacher training programmes across the region
  • Design of monitoring and evaluation strategy and relevant tools, communications strategy
  • Budget management of £1m per annum
  • Management of a team of 18 people divided across four countries
Achievements include:
  • Co-designed a project based learning course with UNESCO for teachers in Bangladesh
  • Secured £120,000 of funding for ICT in schools programme through the Asian Development Bank funded Teaching Quality Improvement programme in Bangladesh
  • Project delivered on time and on budget each year with audience, income and partnership targets met
May 2007 – May 2008: Education Manager CHINA NOW (part time secondment from British Council)
Responsibilities included: design and implementation of all aspects of CHINA NOW’s Schools and Higher Education programme. CHINA NOW was the UK’s largest ever festival of Chinese culture.
Secured £300,000 sponsorship for the education programme
Liaising with a range of private sector, academic, and government partners on programme design and delivery
January 2005 – July 2008: British Council, Senior Development Officer, London
Responsibilities included: Managing UK side of a school partnership programme with China involving more than a 1000 schools in England
Organising and managing Chinese language courses for UK primary and secondary students
Managing UK side of school partnership programmes between the UK and Russia, East Asia and North Africa
Budget Management of up to £1m per annum
External relations lead for all British Council schools work with China, including with Chinese Embassy, DfES China Task Force, HSBC Global Education Trust, Specialist Schools and Academies Trust
Line Management of two Project Delivery Officers
November 2002 – December 2004: British Council, Programme Officer, Education and Training Group
September 1999 – June 2001: English and Latin teacher, Liaoning Normal University, Dalian, P.R. China
EDUCATION
September 2007- September 2011: MA “Education and International Development”, Institute of Education, University of London.
September 2001 – September 2002: MA “Chinese Studies” School of Oriental and African Studies, University of London.
September 1996 – June1999: BA “Ancient History and History”, University of Nottingham.
LANGUAGES: French (fluent), Chinese (good spoken), German (proficient)
 
 
ศาสตราจารย์ ดร. (mult.) วัสสิลิออส อี เอฟธีนากิส
ประธานสมาคมเวิลด์ไดแด็ค

หัวข้อ:“7 ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 กับการศึกษาของอาเซึยน: ความนัยและการปฏิบัติ เพื่อสร้างอนาคตที่ดีกว่า”
ศาสตราจารย์ ดร. (mult.)วัสสิลิออส อี เอฟธีนากิส ศึกษาด้านครุศาสตร์ในกรีซและมานุษยวิทยา พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลคณะวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาคณะปรัชญา ที่มหาวิทยาลัยLudwig Maximilians (LMU) ในมิวนิกเขาจบการศึกษาจากสามคณะ(Dr. rer. nat.; Dr. phil. and Dr. rer. nat. habil.)และดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์คณะชีววิทยาในสาขาสังคมมานุษยวิทยา
เขาเป็นผู้อำนวยการของสถาบัน State Institute of Preschool Education and Research in the Federal State of Bavaria 33 ปี และยังเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยอ๊อกส์เบิร์กอีกทั้งเป็นศาสตราจารย์รับ เชิญที่มหาวิทยาลัยนิวคาสเซิลอัพพอนไทน์ และบรรยายให้กับหลายมหาวิทยาลัยในยุโรป
ในระหว่างปี 2002 - 2010 เขาเป็นศาสตราจารย์ “per chiara fama” ที่the Free University of Bozen/Bolzanoในอิตาลี ผลงานทางวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นการศึกษาในวัยเด็กและการวิจัยครอบครัวในประเทศ เยอรมนีโดยเน้นเรื่องการพัฒนาครอบครัว การหย่าร้าง ความเป็นพ่อ และ Family Police
เขาได้ริเริ่มการปฏิรูปหลักสูตรอนุบาลและใน ส่วนของโรงเรียนในประเทศเยอรมนีและได้ให้คำปรึกษากับทางรัฐบาลและสหพันธรัฐ มากมาย ในหัวข้อนโยบายการศึกษาและครอบครัว ในฐานะที่ปรึกษาศาลรัฐธรรมนูญ และเป็นผู้ริเริ่มให้มีการเปลี่ยนแปลงในปรัชญากฏหมายครอบครัวในประเทศ เยอรมนี
เขามีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิรูปหลักสูตร และการพัฒนาหลักสูตรใหม่เพื่อการศึกษาประพันธ์หนังสือและเป็นนักเขียนร่วม กว่า 100 เล่มที่เป็นที่รู้จักมากมาย ปัจจุบันเขาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเบรเมินในเยอรมนีและเป็นประธาน สมาคมเวิลด์ไดแด็ค
ศาสตราจารย์ เอฟธีนากิส เป็นประธานสมาคมเวิลด์ไดแด็คตั้งแต่ปี 2012 ในปี 2004ได้ รับเครื่องอิสริยาภรณ์ดังต่อไปนี้ the German Republic the Order of Merit First Class of the Federal Republic of Germany ในปี 2007 the Bavarian Order of Merit (Bayerischer Verdienstorden) และ the highest Award of the State of Bavariaในปี 2008 the Major of Munich the Georg Kerschensteiner Medaille และในปี 2013 the Order of Merit (Verdienstorden am Bande)
 
 
มิส อิสเบล นิสเบท
ผู้อำนวยการการศึกษา (ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
การสอบระบบนานาชาติแคมบริดจ์

หัวข้อ คุณภาพการศึกษา กับระบบประกันคุณภาพและผลการประเมินในมาตรฐานสากล เราควรเรียนรู้อะไรบ้าง

มิส อิสเบล นิสเบท เริ่มทำงานที่การสอบระบบนานาชาติแคมบริดจ์ในปี 2011 ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี จากหน่วยงานราชการทางการแพทย์และการศึกษา ที่การสอบระบบนานาชาติแคมบริดจ์ ในสิงคโปร์ มิส อิสเบลรับผิดชอบในการบริหารจัดการความสัมพันธ์ของเคมบริดจ์กับภาครัฐและด้าน วิชาการศึกษาชั้นนำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ก่อนที่จะเข้าร่วมแคมบริดจ์ มิส อิสเบล ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการในหน่วยงาน Qualifications and Curriculum Authority ในประเทศอังกฤษ และเป็นผู้บริหารระดับสูงคนแรกของ statutory regulatory body overseeing examinations and qualifications in England และยังเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการศึกษาและการปฏิรูปการศึกษามากมายในสห ราชอาณาจักรและไอร์แลนด์
มิส อิสเบล จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกลาสโกว์และอ๊อกซฟอร์ด และได้รับวุฒิการศึกษาด้านกฎหมายการแพทย์และการศึกษา
 
 
ศาสตราจารย์ ตัน อุน เซง
คณบดี คณะครุศาสตร์
สถาบันการศึกษาแห่งชาติสิงคโปร์ (NIE)

หัวข้อ: “การศึกษาข้ามพรมแดนของภูมิภาคอาเซียน: โอกาสและความท้าทายของประชาคมอาเซียน
ศาสตราจารย์ ตัน อุน เซง ดำรงตำแหน่งเป็นคณบดี คณะครุศาสตร์ สถาบันการศึกษาแห่งชาติสิงคโปร์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีหนานหยาง ศาสตราจารย์ ตัน เป็นนายกสมาคม Educational Research Association of Singapore (ERAS) และ Asia-Pacific Educational Research Association (APERA) อีกทั้งเป็นรองประธานสมาคม International Association for Cognitive Education and Psychology (IACEP)
ศ.จ. ตัน เคยเป็นผู้อำนวยการ Singapore Examinations and Assessment Board (SEAB) และ บรรณาธิการให้กับ journal Educational Research for Policy and Practice (ERPP) อีกทั้งเป็นสมาชิกบอร์ดของ SEAMEO Regional Centre for Higher Education and Development
เขาเป็นผู้จัดงานประชุม WERA-IRN (World Education Research Association - International Research Network) ในหัวข้อ “Teacher education for the 21st century: Developing teachers who are thoughtful, reflective, and inquiring” และนอกจากผลงานที่ได้ตีพิมพ์แล้ว ศ.จ. ตัน ยังได้กล่าวปาฐกถาในการประชุมระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับสาขานี้ที่สำคัญใน หลายๆ ที่ อาทิ สหรัฐอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ฮ่องกง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยปาฐกถาของเขาครอบคลุมถึง National Science Foundation (NSF) Education and Human Resource (EHR) Distinguished Lecture in Washington, D.C., American Educational Research Association Annual Meetings presidential sessions และการประชุมการศึกษาระหว่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นที่ปรึกษาให้กับหลายมหาวิทยาลัยและหน่วยงานรัฐบาลทั่วโลก
 
 
ศาสตราจารย์ เกรแฮม เอชซี โดนัลด์สัน
ผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (โออีซีดี) ศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์

หัวข้อ: “มุ่งสู่ความเท่าเทียมทางการศึกษา และประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอน ด้วยระบบการประเมินผล”
“คุณภาพการศึกษา กับระบบประกันคุณภาพและผลการประเมินในมาตรฐานสากล เราควรเรียนรู้อะไรบ้าง”


ตลอดเวลาการทำงานของเขา ศาสตราจารย์ เกรแฮม เอชซี โดนัลด์สัน มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาของสก๊อตแลนด์ ทั้งในเรื่องนโยบาย และการปฏิบัติ และเป็นผู้นำด้านการเปลี่ยนแปลงสถาบัน Her Majesty’s Inspectorate of Education ให้เป็นหน่วยราชการที่มีบทบาทสำคัญด้านการศึกษาของสก๊อตแลนด์

นอกจากนี้ เขายังเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบ รวมการตรวจสอบด้วยการประเมินตนเองและการสร้างขีดความสามารถเข้าด้วยกัน นอกเหนือจากการแนะนำนโยบายการศึกษาแก่รัฐมนตรี เขายังมีบทบาทสำคัญในด้านการเปลี่ยนแปลงโปรแกรมครั้งใหญ่ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการพัฒนาหลักสูตรปฏิรูปรัฐบาลสก๊อตแลนด์ หลักสูตรเพื่อความเป็นเลิศ

หลังเกษียนจาก HMIE เขารับหน้าที่ตรวจสอบการศึกษาของครูในสก๊อตแลนด์ตามคำขอของรัฐบาล ผลงานของเขา ‘Teaching Scotland’s Future’ ถูกตีพิมพ์ในปี 2011 ได้ให้คำแนะนำ 50 ประการ ซึ่งได้รับการยอมรับจากรัฐบาล และโปรแกรมสำคัญอยู่ในระหว่างการดำเนินงาน ผลงานของเขาได้รับความสนใจจากต่างประเทศอีกด้วย

ศาสตราจารย์ เกรแฮม สร้างชื่อเสียงในต่างประเทศ เป็นผู้บรรยายให้สถาบันต่างๆ ทำงานเสมือนผุ้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศสำหรับองค์การเพื่อความร่วมมือทาง เศรษฐกิจและการพัฒนา (โออีซีดี) โดยเป็นผู้กล่าวปาฐกถาพิเศษในงาน EU Presidency conferences ให้คำปรึกษาแก่รัฐบาลและองค์กรพัฒนาเอกชน และดำรงตำแหน่งเป็นประธานของ SICI

ปัจจุบัน เขาทำงานเป็นศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกลาสโกว์
 
 
ศาสตราจารย์ เชง ไค มิง
ศาสตราจารย์ ผู้อานวยการฝ่ายการศึกษา มหาวิทยาลัยฮ่องกง

หัวข้อ: “7 ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 กับการศึกษาของอาเซึยน: ความนัยและการปฏิบัติ เพื่อสร้างอนาคตที่ดีกว่า”

ศาสตราจารย์ เชง ไค มิง ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อํานวยการฝ่ายการศึกษา มหาวิทยาลัยฮ่องกง และรองอธิการบดีและที่ปรึกษาอาวุโสให้กับอธิการบดีมหาวิทยาลัยเพื่อการระดม ทุนและสร้างเครือข่าย ศ.จ. เชง เป็นครูและอาจารย์ใหญ่ก่อนที่จะเข้าเรียนระดับปริญญาเอกที่สถาบันการศึกษา ลอนดอน ในปี 1996-2006 เขาเป็นศาสตราจารย์รับเชิญที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด โดยโครงการงานวิจัยของเขาเกี่ยวกับการศึกษาชนบทในประเทศจีน ต่อมาได้เปลี่ยนโครงการวิจัยเป็นการปฏิรูปในหลากหลายระบบ

ปัจจุบัน เขาให้ความสนใจในการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานในสังคมและสิ่งที่ท้าทายทางการ ศึกษา ดังนั้นจึงให้ความสนใจใน การเรียนรู้ เป็นหลัก เขาได้ดำเนินโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ นโยบาย กฏหมาย และการประเมินสถาบัน ในประเทศต่างๆ ทั่วทั้งทวีป เขาเป็นที่ปรึกษาให้กับ World Bank, UNESCO และ UNICEF ปัจจุบัน เขาเป็นสมาชิกของ National Advisory Committee on Curriculum Reform ในประเทศจีน เขาเป็นสถาปนิกและที่ปรึกษา interdisciplinary Strategic Research Theme on Sciences of Learning ที่มหาวิทยาลัยฮ่องกง

ศ.จ. เชง เป็นสมาชิกของ Education Commission ซึ่งเป็นเครื่องมือในการปฏิรูปที่กำลังดำเนินการเริ่มต้นในปี 1999 เขาเป็นประธาน Advisory Committee on Teachers Education and Qualifications ปัจจุบันเขาเป็นประธานของ Standing Committee on Language Education and Research และเป็นประธาน Hong Kong Regional Advisory Committee for PISA 2015 เขาเขียนคอลัมน์ประจำสัปดาห์ใน Hong Kong Economic Journal Daily อีกทั้งคอลัมน์รายเดือนใน Shanghai Education and Escuela (Spain)
หมายเลขบันทึก: 550784เขียนเมื่อ 13 ตุลาคม 2013 00:14 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 ตุลาคม 2013 00:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท