เมื่อชมรมปลูกผักกินได้มาเจอกับชุมชนคนรักษ์กระดูก


ดีใจมากค่ะ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2556 ได้พบกับ อ.ขจิต หัวหน้าโครงการชมรมปลูกผักกินได้ เลยช่วยส่งเสริมเต็มที่พร้อมกับหยอดไปว่า อยากให้อาจารย์ปลูกผักที่มีแคลเซี่ยมสูง อาทิเช่น คะน้า กวางตุ้ง กะหล่ำปลี ผักกาดขาว บร็อคโคลี แล้วเด็กๆในโรงเรียนจะได้ทานผักเหล่านี้ เพิ่มแคลเซี่ยมในอาหารที่อยู่ใกล้ตัวนี่เอง อยู่ๆก็มีจุดเชื่อมโยงได้อย่างไม่น่าเชื่อ เมื่อชมรมปลูกผักกินได้มาเจอกับชุมชนคนรักษ์กระดูก

 

 

หมายเลขบันทึก: 550782เขียนเมื่อ 12 ตุลาคม 2013 23:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 ตุลาคม 2013 23:59 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

น่าสนใจมากนะคะคุณหมอ...ติดตามกิจกรรมของชมรมคนรักษ์กระดูกอยู่ค่ะ...

น่าจะเหมาะกับผู้ที่เข้าวัย สว. นะครับ อาจารย์หมอ ครับ

เข้าวัย สว. เรียบร้อยแล้วค่ะ แม้ใจจะไม่ค่อยยอมสักเท่าใด

อยากเป็น สว. กระดูกแข็งแรงค่ะ จะปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดค่ะ

ขอบคุณค่ะ

ขอบคุณทุกท่านค่ะที่สนใจสุขภาพกระดูก เขียนแบ่งปันประสบการณ์บ้างก็ได้นะคะ อย่าลืมใส่คำสำคัญว่ากระดูกพรุน

และชุมชนคนรักษ์กระดูก นะคะ

ขอบคุณค่ะ

ดีจังเลยค่ะ เราควรทานอาหารเป็นยามากกว่าทานยาเป็นอาหารนะคะ

มีอาหารหลายชนิดที่ทานเพื่อบำรุงกระดูก

ใช่เลยค่ะ Krutoiting ทานอาหารเป็นยามากกว่าทานยาเป็นอาหาร 

ชอบประโยคนี้จัง

อ่านแล้วคิดว่า สงสัยคงต้องเริ่มดูแลกระดูกตัวเองตั้งแต่ตอนนี้แล้วล่ะค่ะอาจารย์

เดี๋ยวนี้กระแสของการทานข้าวเป็นหลัก ทานผักเป็นยากำลังมาแรงนะคะ

ที่บ้านคุณแม่ก็ใช้เวลาว่างปลูกผักทานเองแล้วเหมือนกันค่ะ

จริงๆๆแล้วยังมีผักชนิดอื่นเช่นงาด้วยครับ

น่าสนใจต่อเรื่องกระดูก 

ดีใจได้ทำงานร่วมกัน

ถูกแล้วค่ะ น้องอุทัยกาญจน์ ดูแลสุขภาพตั้งแต่เด็กๆเลยจะดีกว่า พวกเราอยู่ในแวดวงสาขาสุขภาพ ต้องช่วยกันส่งเสริมสุขภาพมากกว่าการรักษานะคะ

 

ดีใจจริงๆที่ได้ร่วมงานกับ อ.ขจิต

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท