งานวิจัย...ต้องไม่อยู่บนหิ้ง


งานวิจัยระดับไหนก็ตาม...ปริญญาโท...ปริญญาเอก  เป็นสิ่งที่ถูกค้นคว้ามาอย่างเป็นระบบ  แต่พอจบการศึกษา  คุณค่าของวิจัยอาจเผยแพร่ถึงผู้บริโภคงานวิจัยอย่างไม่ทั่วถึง  ช่องทางหนึ่งจึงต้องการนำเสนอเพื่ออย่างน้อยได้รู้  ได้ศึกษาตามความสนใจในสิ่งที่ท่านสนใจและจะสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติได้  โดยเฉพาะงานบริหารด้านการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของชุมชน  ซึ่งในครั้งนี้ได้นำเสนอในส่วนของคู่มือเพื่อนำไปดำเนินการบริหารได้อย่างสะดวก  เนื่องจากมีขั้นตอนการดำเนินการที่ชัดเจน  จึงนำเสนอท่านที่สนใจไว้เป็นเบื้องต้น  หากว่าประยุกต์หรือปฏิบัติได้ใคร่บอกต่อย่อมได้เสมอ...เพราะคิดเสมอว่างานวิจัยของทุกคนมีจุดที่ดีมีประโยชน์..ควรได้มีการเสนอแลกเปลี่ยนและไม่ควรวางไว้อยู่บนหิ้งเท่านั้น  ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมแลกเปลี่ยนนะคะ  คู่มือการบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชน1.doc

หมายเลขบันทึก: 544978เขียนเมื่อ 8 สิงหาคม 2013 17:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 สิงหาคม 2013 17:29 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

 

.... งานวิจัย ต้องนำไปแก้ปัญหาสังคมได้ ...และได้ดีจริงๆ ... เกิดรูปธรรมในการแก้ปัญหาของสังคม .... ไม่เช่นนั้นไม่เกิดประโยชน์ ... อยู่บนหิ้ง...ก็หนักเปล่าวๆ นะคะ

 

 

 ขอบคุณค่ะ 

ขอบคุณค่ะ  หวังว่าการบริหารแบบมีส่วนร่วมของชุมชนจะได้นำไปใช้ในสถานศึกษาบ้างนะคะ

ขอขอบคุณทุกกำลังใจที่ให้มานะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท