ภูมินามภูมินิเวศวัฒนธรรม 9: บ้านห้วยหินฝน



บ้านห้วยหินฝน   

บ้านห้วยหินฝน ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก

  โรงงเรียนนี้ ผู้อำนวยการ ชื่อ วิจิตร  แก้วเลิศเป็นคนที่กระตือรือร้น มุ่งพัฒนานักเรียนให้มีศักยาพเท่าที่จะไปถึงได้ เห็นได้จากนักเรียนจำนวนมากเป็นคนไม่มีบัตรประชาชนถึง 70 % แต่ครูโรงเรียนนี้ ทุ่มเท กายใจสอนนักเรียนจนมีผลงานดีเด่นหลาย ๆด้าน เช่น บางวิชาได้คะแนน โอเนตสูงกว่ามาตรฐาน ประกวดได้รางวัลชนะเลิศ ภาษาไทย วาดเขียน และอะไร ๆ อีกหลายอย่างซึ่งเวลามีน้อยผู้เขียนเก็บมาไม่หมด

ตำนานบ้านห้วยหินฝน นางอรทัย  ประเสริฐสมบูรณ์  และนางอนุชาติ  ประเสริฐสมบูรณ์  เล่าว่า ที่นี่เป็นทางผ่านระหว่าง แม่สอดและตาก จะมีทางรถผ่านห้วยซึ่งอยู่หลังโรงเรียน เมื่อรถผ่านมาถึงที่นี่ต่างก็ลงก็จะแวะลงพัก อาบน้ำ หน้าล้างและอีกอย่างหนึ่งใครมาก็ต้องไปลับมีด (ฝนมีด) เพราะมีหินก้อนใหญ่อยู่  ดังนั้นคนจึงเรียกว่า บ้านห้วยหินฝน  แปลว่าห้วยที่มีหินลับมีด  คำเมือง (ล้านนา ฝนมีด คือ ลับมีด)




ผู้ให้สัมภาษณ์

1.นางอนุชาติ  ประเสริฐสมบูรณ์ อาศัยอยู่ชุมชนนี้ตั้งแต่เกิด 

  -มาบ้าน เกษตร (จ้างทำ)

  -เคยเป็นมาลาเรีย   ลูกเคยเป็นเมื่อชั้น ป.2

-  -ประถมศึกษา

2.นางอรทัย  ประเสริฐสมบูรณ์  ผู้ปกครองนักเรียนชั้น ป.6 และป. 3 อาศัยชุมชนนี้ตั้งแต่เกิด 

-อาชีพเกษตรกร อ.ส.ม.

  -เคยเป็นมาลาเรีย   ลูกก็เคยเป็น

-ระดับมัธยมศึกษา

3.นายพรเทพ  หินฝนทอง  อายุ น้อยกว่า  30 ปี มาอยู่ได้ 5 เดือนอาชีพ

-พนักงานของรัฐ  ไม่เคยเป็นมาเลเรีย  คนครอบครัวเคยเป็น


4.นายอดิศักดิ์  สุขอาภรณ์  อายุ 46-60  อาศัยอยู่ในชุมชนนี้ 10 ปี

--อาชีพเกษตรกร อ.ส.ม.

-เคยเป็นไข้มาเลเรีย

  -สมาชิกในครอบครัวไม่เคย

  -การศึกษาปริญญาตรี

5.นายสุพรรณ  คงอิ่ม อายุ มากกว่า 60 ปี  อยู่ในชุมชนนี้มา 10 ปีอาชีพรับจ้าง

  -รับจ้าง

  -เคยเป็นมาลาเรีย

  -คนในครอบครัว เคยเป็น

  -จบ ป. 4

6.จันทร์ภรณ์  ทองสุกอายุ 58  ปี

ประเด็นติดตามการสื่อสารจากโรงเรียน 5 ประการคือ

1.นักเรียนเคยมาพูดคุยเมาลาเรียนและการป้องกันหรือไม่

-ไม่เคย เพราะไม่ใป.5

2.โรคมาลาเรียที่นักเรียนมาพูดคุยคุยด้วยมีความแตกต่างจากที่เคยรู้มาก่อน ไหม

-ไม่ทราบ

3.รู้วิธีการป้องกันไม่ให้เป็นโรคมาลาเรียก่อนหน้าที่นักเรียนจะมาคุยหรือยัง

-รู้เรื่องไข้เลือดออก คว่ำน้ำขัง ใส่ทรายอะเบท

-ไม่รู้ แหล่งกำเนิดยูงก้นปล่อง จึงป้องกันได้ไม่ครอบคลุมแต่เดิมมาห้วยที่หลังโรงเรียนไปเก็บหน่อไม้มาค่ำ ล้างที่ห้วยแห่งนี้ ยุงชุมมาก ก็ป้องกันบ้าง เช่น ใส่เสื้อผ้าคลุมกันยุง แต่ไม่ได้ป้องกันอย่างจริงจัง เพราะถือว่าอยู่ป่าก็ต้องถูกยุงกัดเป็นธรรมดา

 4.โรงเรียนควรจะสอนวิธีป้องกันตัวเองจากโรคมาลาเรียกับนักเรียน

-ควร เพราะเด็กเมื่อรู้จริงก็จะกลัว คาดว่าจะทไให้ปฎิบัติจริง 

-ถ้าเด็มาเล่าให้ชัดเจนก็จะรู้แหล่งยุงก้อนปลอ่งก็จะป้องกันความเสี่ยงได้ครอบคลุม เช่น ไม่เคยคิดเรื่องป้องกันท่ีป่ามโนรา ทั้งท่ีรู้อยู่ว่าใครไปห้วยนี้กลับมาเป้นไข้ทุกรายย เพราะเป็นท่ีมีดคลึ้ม ฟ้าปิด  ชึ้นแแฉะ เมือ่ไปเก็้บหน่อไม้มา ทุกคนมักจะมาาล้างน่อไม้กันท่ีนี่เป็นประจำ

มีคนเสนนอทางออกว่าควจะย้ายท่ีล้งหน่อไม้ สุมไฟ ใส่เสื้อหนา ๆ ป้องกันยุงกัด วส่วนทายานั้นคุ้้มได้ไม่กี่ชั่วโโมง

5.เรื่องการป้องกันโรคมาลาเรียที่ควรในในโรงเรียน ควรนำมาใช้ในชีวิตจริงได้ เรื่องอะไร 

-ทำให้เด็กกล้าพูดทุก กล้าแสดงออก  เรื่อง ถ้าเด็กจะคบเพือนไม่ดี พ่อแมม่ก็จะได้รู้  จะได้แก้ไขได้ 

-จะช่วยพูดกับบคนท่ีไม่รู้หนังสือให้รู้เรื่องมากยิ่งขึ้น ชัดเจนขึ้น

-ถ้าฝึกเด็กรู้จักคิด สามารถเอามมาป้องกันความเสี่ยงอื่นได้ เช่น ปำิเสธเพื่อนไม่กินเหล้า ไม่เล่นเกมม ไม่กินยา เล่นบอลมากเกินไป ป้้องกันอุบัติเหตุเวาชับรถ รู้จักป้องกันสายตาเมือ่ใช้คอมพิวตร์

-คนกะเหรี่ยงท่ีมาทำงาน เขาขี้ร้อน มักมไม่นอนกางมุ้งดูเหมือนเขไม่กลัว หรือไม่รู้


หมายเลขบันทึก: 539525เขียนเมื่อ 16 มิถุนายน 2013 21:55 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 มิถุนายน 2013 21:55 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท