ใบความรู้ที่ 2 ภาษาไทยมีเสียงสระ


ใบความรู้ที่ ๒

๒.ภาษาไทยมีเสียงสระ

เสียงสระและรูปสระ

  เสียงสระเป็นเสียงที่เกิดจากกระแสลมจากปอดผ่านเส้นเสียงซึ่งเกร็งตัวสั่นสะปัด เสียงสระทั้งหมดเป็นเสียงก้อง (โฆษะ) ต่อจากนั้นกระแสลมผ่านออกมาจากปากโดยสะดวกไม่ถูกสกัดกั้น (เสียงแท้) อย่างเสียงพยัญชนะ (เสียงแปล)

  การที่เสียงสระแต่ละเสียงแตกต่างกันเพราะการออกจากปากจะถูกลิ้น และริมฝีปากกล่อมกลาในลักษณะที่ไม่เหมือนกัน

  รูปสระมี ๒๑ รูป คือ

ที่

รูป

ชื่อ

เขียนสัญลักษณ์รูปสระ/แทนเสียงสระ

รูปเดียว

2

3

4

5

วิสรรชนีย์

ไม้หันอากาศ

ไม้ไต่คู้

ลากข้าง

พินทุอิ

ฝนทอง

นิคหิต

ฟันหนู

ตีนเหยียด

๑๐

ตีนคู้

๑๑

ไม้หน้า

๑๒

ไม้ม้วน

๑๓

ไม้มลาย

๑๔

ไม้โอ

๑๕

ตัว ออ

๑๖

ตัว ยอ

๑๗

ตัว วอ

๑๘

ตัว รึ

๑๙

ตัว รือ

๒๐

ตัวลึ

๒๑

ตัวลือ

  รูปสระ ๒๑ รูป แต่ละรูปไม่ได้แทนเสียงสระโดยตรงทุกรูป มีบางรูปเท่านั้นที่แทนเสียงสระหนึ่งสระได้โดยเฉพาะ เช่น

  แ-  แทนเสียงสระ  แอ

  แทนเสียงสระ  อุ

  โ-  แทนเสียงสระ  โอ

  เสียงสระส่วนมากใช้รูปสระหลายรูปประกอบกัน เช่น

  เสียง  อี  ประกอบด้วย  _ (................)  กับ  _(................)

  เสียง  อึ  ประกอบด้วย  _ (................)  กับ  _(................)

  เสียง  อือ  ประกอบด้วย  _ (................)  กับ  _(................)

  เสียง  เอะ  ประกอบด้วย  _ (................)  กับ  _(................)

  เสียง  เออะ  ประกอบด้วย  _ (................)  กับ  _(................)  และ

  _(................)

  เสียง  เอาะ  ประกอบด้วย  _ (................)  กับ  _(................)

สระมี ๓๒ เสียง

  ๑. เสียงเดี่ยว มี ๑๘ เสียง เสียงสั้น ๙ เสียง และเสียงยาว ๙ เสียง

ตำแหน่ง

รูป

เสียงสั้น

คำ

รูป

เสียงยาว

คำ

สระกลาง

-ะ

-า

สระหน้า

อิ

อี

สระกลาง

อึ

อือ

สระหลัง

อุ

อู

สระหน้า

เ-ะ

เ-

สระหน้า

แ-ะ

แ-

สระกลาง

เออะ

เออ

สระหลัง

โอะ

โอ

สระหลัง

เ-าะ

-อ

  รูปปาก สระหน้า  ~สระกลาง <>  สระหลัง o

 

๒. สระประสม มี ๖ เสียง แบ่งเป็น สระเสียงสั้น ๓ เสียง และเสียงยาว ๓ เสียง

สระเสียงสั้น

สระเสียงยาว

อิ  +  อะ  =  ..........

อี  +  อา  =  ....................

อึ  +  อะ  =  ..........

อือ  +  อา  =  ……………

อุ  +  อะ  =  ...........

อู  +  อา  =  ……………

  แต่เราถือว่าสระประสมมีเพียง ๓ เสียง คือ เอีย  เอือ  อัว  เพราะไม่ว่าเสียงสั้นหรือเสียงยาวก็มีความหมายหมือนเดิม เช่น..............................................................................................................

  ๓. สระเสียงเกิน มี ๘ เสียง

ที่

พยัญชนะต้น

เสียงสระ

พยัญชนะสะกด

เสียงวรรณยุกต์

เป็นเสียงสระ

อะ

สามัญ

๒-๓

อะ

สามัญ

อะ

สามัญ

อึ

-

ตรี

อือ

-

สามัญ

อึ

-

ตรี

อือ

-

สามัญ

ข้อสังเกตรูปสระที่ใช้แทนเสียงสระ

๑. เสียงสระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป

  เสียงสระ  อะ  พยัญชนะ  ย

รูป

คำ

ไอ

ข้าไท 

ใอ

อัย

ไอย

ใช้ในคำไทย ๒๗ คำดังนี้

  ผู้.......หาผ้า..........  ........สะ.... ......คล้องคอ

  …. ….เอา......ห่อ  มิหลง......  ........ขอดู

  จะ......ลงเรือ.........  ดูน้ำ........และปลาปู

  สิ่ง......อยู่......ตู้  มิ.......อยู่........ตั่งเตียง

  บ้า......ถือ........บัว  หูตามัวมา........เคียง

  เล่าท่องอย่าละเลียง  ยี่สิบม้วนจำจงดี

ไม้มลาย ใช้ในคำไทยเช่น ไป ไน(.......................) ไจ(..................)  ร้องไห้  คลั่งไคล้ 

อัยใช้ในคำที่มาจากภาษาบาลีสันสฤต ซึ่งเป็นคำเรียงพยางค์  ที่มี “ย”ออกเสียงพยางค์หลัง (การันต์) แต่ไทยใช้ “ย” เป็นตัวสะกด

คำเดิม

คำอ่านตามบาลีสันสฤต

ไทยใช้

กษย  (สิ้นไป,เสื่อม,ผอมแห้ง)

กะ-สะ-ยะ

กษัย

ภย

ชย

วย

ไ-ย ใช้ในคำที่มาจากภาษาบาลีสันสฤต เดิมใช้ “เอยฺย”

คำเดิม

คำอ่านตามบาลีสันสฤต

ไทยใช้

เทยฺยทาน  (ควรให้)

  (ของสำหรับทำทาน)

เวเนยฺย

  (ผู้พึงแนะนำสั่งสอน,ผู้พึงคิด  ได้,สอนได้)

อธิปเตยฺย (ความเป็นยิ่งใหญ่)

อุปเมยฺย (สิ่งที่นำมาเปรียบเทียบ)

เทยฺยธมฺม

  (ของทำบุญ)

๒. รูปสระบางรูปไม่ออกเสียง บางคำไม่มีรูป

รูป

ไม่ออกเสียง

ไม่มีรูป

อิ

ญาติ

อนุญาต

อิ

สัญชาติ

สันชาตญาณ

อุ

ดาวพระเกตุ

สังเกต

๓.๑ คำที่ออกเสียงสระ  อะ   

ประวิสรรชนีย์

ไม่ประวิสรรชนีย์

ลดรูป

เปลี่ยนรูป

ทะลาย

ทลาย

อนุ  พนักงาน

กัด ขับ จับ นับ

สะดม

สดมภ์

  ธ

หรัน  กรรณ  สรร

๓.๒ คำอัพภาส คำซ้ำพยางค์ คำหน้า  ประวิสรรชนีย์ เมื่อใช้ในคำประพันธ์

ริกริก

ยิ้มยิ้ม

คล้อยคล้อย

ฉาดฉาด

๓.๓ คำที่มาจากภาษาเขมร เสียง ไทยประวิสรรชนีย์

เขมร

ไทย

รบำ

รเบียน

รเบียบ

๓.๔คำต่อไปนี้ไม่ต้องประวิสรรชนีย์

คำสมาส

อักษรนำ

คำภาษาอังกฤษ

คำกร่อนเสียง

กิจกรรมอุณหภูมิ โภชนาการ

ขนม  ถนน  สนอง  เสนอ

อเมริกา  พลาสติก  พม่า ชวา สกี

ท่านนาย –ทนาย

อันหนึ่ง-อนึ่ง

๔. ลดรูปสระ  ออ ในบางคำ

  บ  บ่  จรลี  จร(จอน)  กร  …… ……

๕. ลดรูปไม้หันอากาศในสระอัว เมื่อมีตัวสระ

  (ช่+อัว+งอ) ช่วง  (ด-อัว-ง) ...........  (ร่-อัว-ง) ...............

๖. เปลี่ยนรูปวิสรรชนีย์ในสระเอะ และสระแอะ เป็นไม้ไต่คู้

    ด + เอะ + ก  เป็น  …….

    ข + แอะ + ง  เป็น  ……

๗. ลดรูปสระโอ๊ะ

    ค + โอะ + น  เป็น  ..........

  จ – โอะ – น  เป็น  .........

๘. เปลี่ยนรูปสระเอาะ โดยใช้  อ  กับ ไม้ไต่คู้แทน

    ล + เอาะ + ค  เป็น  ........

    ก้ + อ  เป็น  .........

๙. เสียงสระบางเสียงใช้รูปสระต่างกัน สื่อความหมายต่างกัน

    เ-อ  เทอญ  เ-  เทิน

    เทอม  เทิ้ม

    เคอย  เ-  เคย

    ใ-  ใน  ไ-  ไน

    ใต้  ไ-  ไต้

๑๐  สระอำใช้ได้ ๔ รูป  คือ อัม อำ อำม และ  รรม

๑๐.๑ รูปเดิมเป็น อัม  มาจากภาษาอื่น

บาลีสันสกฤต

อังกฤษ

ฝรั่งเศส

จีน

ชวา

ไทย

คัมภีร์ อัมพร สัมพันธ์  สัมผัส

คอลัมน์  อัลบัม

กรัม

ฉำฉา ไหหลำ

จำปาดะ รำมะนา

ดำ จำ นำ ขำ

๑๐.๒ ใช้อำในคำแผลงเพื่อให้เกิดความไพเราะ

คำเดิม

แผลงมาเป็น

คำเดิม

แผลงมาเป็น

เกิด

อาจ

ทรุด

แจก

จ่าย

ปราศ

บำราด

แทรก

ตรง

เจียร

ตริ

เสร็จ

ตรัส

อวย

ปราบ

เสียง

ตรับ

ชาญ

ตรวจ

๑๐.๓ คำมาจากบาลีสันสกฤตรูปเดิม อม (อะมะ)  ไทยใช้  อำมะ (อำ-มะ)

คำเดิม

คำใหม่ไทยใช้

คำเดิม

คำใหม่ไทยใช้

อมร

อมรินทร์

อมาตย์

อมหิต

๑๐.๔ –รรม ที่ไทยใช้อยู่ มาจาก –รฺม ในภาษาสันสกฤต

ภาษาสันสกฤต

ไทยใช้

คำอ่าน

ธรฺม

กรฺม


หมายเลขบันทึก: 537428เขียนเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 18:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 28 พฤษภาคม 2013 18:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท