หัวใจนักปราชญ์ของอาจารย์นักวิจัยที่พิการเพียงแค่ร่างกาย


อาจารย์ผู้บรรยายและผู้เข้าฟังส่วนใหญ่เป็น นักวิจัยที่ต้องใช้ชีวิตในการเคลื่อนไหวด้วยล้อเข็น มีความพิการทางร่างกาย แต่มีจิตใจที่เข็มแข็ง และมีหัวใจของนักปราชญ์อย่างยิ่งครับ

เมื่อคืนวานนี้ ผมและเพื่อนๆที่เรียนเอกด้วยกันได้เข้าฟังการบรรยายเรื่อง “Communicating the relevance of disability studies in a new millennium” โดย Associate Professor Helen Meekosha อาจารย์ท่านสละเวลานั่งล้อเข็นขึ้นเครื่องบินจาก Sydney ตรงมาบรรยายถึง Perth

 Helen Meekosha is Associate Professor of Social Work at the University of New South Wales in Syndey where she has a major responsibility for teaching Social Work Practice (Community Development). She also teaches Social Action and Social Movement and Disability: Politics and Practice. She supervises postgraduate students in Women's Studies and Social Work in the areas of race, gender and disability. She is also an overseas Consulative Editor of Disability and Society. She has published widely and is currently finishing a book for Sage Publicatins on Disability, Representation and Participation. Her other research projects focus on disabled people's experience of a range of citizenship 'rights' in the realms of economy, politics, culture, media and civil society. She is immediate past president of the Women with Disabilities Australia (WWDA) and is the organisation's spokesperson and representative on human rights. She was a founding board member of the Disability Studies and Research Institute and currently convenes their Education Advisory Committee.   Her contact email: [email protected]  

ผมอ่านประวัติและบทคัดย่อของการบรรยายครั้งนี้ อยากให้ทุกท่านลองอ่านเป็นภาษาอังกฤษ และรับความรู้สึกของภาพการบรรยายของอาจารย์ที่นั่งบนล้อเข็น และถ่ายทอดประสบการณ์การทำวิจัยเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของเพื่อนผู้พิการเหมือนกัน

 The late 20th century saw the study of disability move beyond the problematic allocation of the body to the pre-social realm and disability scholars argued that disability is a social condition generated by the same types of power relations that give social meaning to race, gender and sexuality. Disability has variously been described as a relationship of oppression, a human rights issue, a discourse of liberation, a new social movement, and identity and an emerging culture. The politics of knowledge creation has become a critical dimension of disability activism, yet higher education remains overwhelmingly silent on disability, apart from within medical and rehabilitation discourses. To this end, critical disability studies has begun to make significant inroads into the unstated assumptions of normalcy that underpin enlightenment thinking as well as challenging postmodern discourse.  

ในฐานะอาจารย์กิจกรรมบำบัดทางจิตสังคม ที่ต้องทำงานส่วนหนึ่งเพื่อช่วยเหลือคนพิการโดยตรง ในระบบวิชาชีพทางการแพทย์ และระบบมหาวิทยาลัยทางการแพทย์ ผมรู้สึกถึง ความต้องการดำเนินชีวิตที่ทัดเทียมกับคนที่ไม่พิการ พวกเค้าต้องการให้บุคลากรทางการแพทย์เข้าใจความต้องการดังกล่าวและพัฒนางานวิจัยร่วมกับพวกเค้าในหลายๆด้าน ไม่ใช่เพียงแค่การรักษาฟื้นฟูสภาพเท่านั้น หากร่วมถึงการนำงานวิจัยสะท้อนระบบสาธารณสุขที่ยังคงมีข้อจำกัดทางนโยบาย สังคม และสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างเช่น เด็กที่มีความบกพร่องทางจิตและพัฒนาการ (Mental Health and Developmental Disorders) อยากเรียนหนังสือ อยากเข้างานสังคม เช่น เต้นรำ วาดรูป ดูหนัง ฟังเพลง และถ่ายทอดความรู้สึกให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม เหมือนคนปกติทั่วไป

 

บทสรุปสุดท้ายของผู้บรรยายฝากไว้สำหรับผมและเพื่อนๆที่เรียนเอกด้วยกัน ซึ่งผมอยากส่งผ่านให้ท่านผู้อ่านที่กำลังทำงานและอุทิศตนเพื่อช่วยเหลือประชากรเหล่านี้ครับ ลองอ่านดูข้างล่างนะครับ

 

“Medical and rehabilitative paradigms in entrenched in the academy – disability studies in an inferior position…need to focus critiques on the academy and knowledge production as much as on the wider environment…challenging, as issue of governance of disabled people and testing government”

  
คำสำคัญ (Tags): #health#activity#therapy#social
หมายเลขบันทึก: 51855เขียนเมื่อ 26 กันยายน 2006 09:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 14:51 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)
อ่านแล้วรู้สึกประทับใจมากค่ะ ขอเป็นกำลังใจให้ทุกท่านที่ทำงานด้านนี้ ไม่ทราบรายละเอียดของสภาวะนี้ในบ้านเราเท่าไรนัก แต่เชื่อว่าน่าจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้พิการที่ขาดโอกาสในบ้านเรา หากเราช่วยกันเท่าที่จะทำได้ในการเปิดโอกาสให้พวกเขาให้มากที่สุด ความสงสารจะไม่เป็นประโยชน์เท่ากับความเข้าใจและการให้โอกาส

อ่านแล้วก็ฝันอยากเห็นภาพผู้พิการของไทยเราก้าวเข้ามามีบทบาทในภาคส่วนของการกระตุ้นกระบวนการทั้งทางด้านวิชาการและกฎหมายเพื่อสร้างเสริมโอกาสให้แก่กลุ่มผู้มีความต้องการพิเศษเหล่านี้มากยิ่งขึ้น...ข้อคิดที่อาจารย์ผู้บรรยายฝากไว้ประทับใจและคงจะต้องหวนกลับมาอ่านทบทวนบ่อยๆ

และสุดท้ายขอบคุณอาจารย์ป็อบด้วยเช่นกันที่กรุณาสื่อสารเรื่องดีๆแบบนี้มาให้ได้เรียนรู้อยู่เสมอๆ

Thank you for your comments krab!

I am agreed with your statements that understanding and offering chances or roles for disabled persons impact academic and policy issues related to well-being in Thai society.

Thank you again krab P'O+ and Khun Seangia

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท