คำอธิบายรายวิขา ท 31101 ท 31102


มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

รหัส ท ๓๑๑๐๑  รายวิชาภาษาไทย ๑ รหัส ท ๓๑๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ๒     เวลาเรียน  ๒ ชั่วโมง         ๑ หน่วยกิต           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

          สาระที่  ๑  การอ่าน

                มาตรฐาน ท ๑.๑                 ใช้กระบวนการอ่าน สร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

                สาระที่  ๒  การเขียน

          มาตรฐาน  ท ๒.๑              ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงาน

                                                                การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

          สาระที่ ๓  การฟัง การดู และการพูด

                มาตรฐาน  ท  ๓.๑             สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

                สาระที่ ๔  หลักการใช้ภาษา

                มาตรฐาน  ท ๔.๑               เข้าใจธรรมชาติของภาษา และหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย

                                                                ไว้เป็นสมบัติของชาติ

                สาระที่ ๕  วรรณคดีและวรรณกรรม

          มาตรฐาน  ท ๕.๑               เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

 

 

 

                O ตัวชี้วัดช่วงชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔

                        สาระที่ ๑  การอ่าน

                                ตัวชี้วัด                                 ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะและเหมาะสม

                                      ๒. อ่านแปลความ ตีความและขยายความโดยวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล

                                                                ๓.  วิเคราะห์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นเสนอแนวคิดในการนำมาพัฒนาตนเองได้

                                สาระที่ ๒  การเขียน

                                ตัวชี้วัด                  ๑.  เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์

                                                                ๒. เขียนเรียงความย่อความที่มีเนื้อหาและรูปแบบหลากหลาย

                                                                ๓.  ประเมินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนำมาพัฒนาและผลิตงานเขียนของตนเอง

                                                                ๔.  เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า

                                สาระที่ ๓  การฟัง การดู และการพูด

                                ตัวชี้วัด                  ๑.  สรุปวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดู

๒.    มีวิจารณญาณในการฟังและดูประเมินค่านำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

๓.    พูดในโอกาสต่างๆโดยแสดงทัศนะโต้แย้ง โน้มน้าวใจอย่างเหมาะสม

สาระที่ ๔  หลักการใช้ภาษา

ตัวชี้วัด                  ๑.  อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษาไทย

๒.    ใช้คำกลุ่มคำสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์

๓.    ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาล เทศะและบุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์

๔.    เขียนบทร้อยกรองได้

สาระที่ ๕  วรรณคดีและวรรณกรรม

ตัวชี้วัด                  ๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น

๒.    วิเคราะห์ลักษณะวรรณคดี และวรรณกรรมที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต

๓.    วิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

คำอธิบายรายวิชา  ท ๓๑๑๐๑ , ท ๓๑๑๐๒

                       

            ศึกษาภาษาไทยโดยใช้กระบวนการอ่านนำไปสร้างความคิด ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต  มีนิสัยรักการอ่าน สามารถเขียนสื่อสารใน

รูปแบบต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ  เลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ พูดแสดงความรู้ความคิด แสดงความรู้สึกต่างๆอย่างสร้างสรรค์ เข้าใจธรรมชาติของภาษา หลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังของภาษาอันเป็นอันเป็นภูมิปัญญา มีความเข้าใจถึงคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมโดยนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน  ด้วยความภูมิใจในการรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

 

                                               

               

         

 

                               

 

 

แบบบันทึกการจัดทำหน่วยการเรียนรู้  ท ๓๑๑๐๑

 

ที่

 

ชื่อหน่วย

 

ตัวชี้วัด

 

สาระการเรียนรู้

เวลา

ช.ม.

น้ำหนักคะแนน (ร้อยละ)

แหลงเรียนรู้

สื่อ

 

การบูรณาการ

K

P

A

๑.

ภาษาไทยมีหลัก

๑.๑.อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษาไทย

๑.๒.ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาล เทศะและบุคคล

๑.๓.เขียนบทร้อยกรอง

๑.สามารถอธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและ

ลักษณะของภาษาไทยได้

๒.สามารถใช้คำข้อความถูกต้องตามระดับของภาษา

๓.เขียนบทร้อยกรองประเภทกาพย์ได้

 

 

 

 

 

 

๑๕

 

 

๑๕

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบเรียน

หนังสือ ตำรา

ใบความรู้

ใบงาน

 

๒.

รักการอ่าน

๒.๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้องไพเราะและเหมาะสม

๒.๒. อ่านแปลความ ตีความและและขยายความโดยวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล

๒.๓. วิเคราะห์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นเสนอแนว

๔. สามารถอ่านบทความและกาพย์ได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ

 

๕. สามารถอ่านบทความ สารคดีจากสื่อสิ่งพิมพ์นำมาวิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เสนอแนวคิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

 

 

 

 

 

 

 

๑๐

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสือวรรณคดี

หนังสือพิมพ์

วารสาร

ใบความรู้

 

ที่

ชื่อหน่วย

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลา

น้ำหนักคะแนน(ร้อยละ)

แหล่งเรียนรู้

สื่อ

การบูรณาการ

K

P

A

 

 

คิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

 

 

 

 

 

 

 

๓.

สื่อสารงานเขียน

๓.๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์

๓.๒.ประเงินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนำมาพัฒนาและผลิตงานเขียนของตนเอง

๖. สามารถเขียนจดหมายธุรกิจได้ถูกต้อง

๗. ศึกษางานเขียนประเภทบันเทิงคดีนำมาพัฒนาเป็นงานเขียนของตนเองได้

 

 

 

 

เอกสาร ตำรา

ใบความรู้

วารสาร

 

๔.

ฟัง ดู  พูด อย่างมีวิจารณญาณ

และสร้างสรรค์

๔.๑. สรุปวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดู

๔.๒. มีวิจารณญาณในการฟังและดูประเมินค่านำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

๘. สามารถสรุปแนวคิด การ

ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือ

จากการฟังสื่อโทรทัศน์

โดยประเมินค่านำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจะวัน

๑๓

รายการทางโทรทัศน์

ใบงาน

ใบความรู้

 

๕.

วรรณคดีมีคุณค่า

๕.๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น

๙.สามารถวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมได้

๑๓

หนังสือวรรณคดี

 

 

 

แบบบันทึกการจัดทำหน่วยการเรียนรู้  ท ๓๑๑๐๒

 

ที่

 

ชื่อหน่วย

 

ตัวชี้วัด

 

สาระการเรียนรู้

เวลา

ช.ม.

น้ำหนักคะแนน (ร้อยละ)

แหลงเรียนรู้

สื่อ

 

การบูรณาการ

K

P

A

๑.

ภาษาไทยมีหลัก

๑.๑. ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยคตรงตามจุดประสงค์

๑.๒.ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาล เทศะและบุคคล

๑.๓.เขียนบทร้อยกรอง

๑. สามารถใช้คำกลุ่มคำ สำนวนและร้อยเรียงเป็นประโยคได้

๒.สามารถใช้คำราชาศัพท์ได้ถูกต้อง

๓.เขียนบทร้อยกรองประเภทโคลงชนิดต่างๆได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสือเรียน

วารสาร สิ่งพิมพ์

ใบความรู้

ใบงาน

 

 

๒.

รักการอ่าน

๒.๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้องไพเราะและเหมาะสม

๒.๒. อ่านแปลความ ตีความและและขยายความโดยวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล

๒.๓. วิเคราะห์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นเสนอแนว

๔. สามารถอ่านเรื่องสั้นและโคลงสี่ได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ

๕. สามารถอ่านบันเทิงคดีประเภทนิทาน นำมาวิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เสนอแนวคิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

 

 

 

 

 

 

๑๓

 

 

 

 

 

 

หนังสือบันเทิงคดี

 

นิทานพื้นบ้าน

วารสาร

หนังสือพิมพ์รายวัน

 

ที่

ชื่อหน่วย

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลา

น้ำหนักคะแนน(ร้อยละ)

แหล่งเรียนรู้

สื่อ

การบูรณาการ

K

P

A

 

 

คิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

 

 

 

 

 

 

 

๓.

สื่อสารงานเขียน

๓.๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์

๓.๒.เขียนเรียงความย่อความที่มีเนื้อหาและรูปแบบหลากหลาย

๓.๓. เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า

๖. สามารถเขียนโครงการและรายงานการดำเนินโครงการ

๗. สามารถเขียนย่อความจากสื่อต่างๆได้

๘. สามารถเขียนรายงานเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงได้ถูกต้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เอกสารตัวอย่าง

 

วารสาร

หนังสืออ่านทั่วไป

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

๔.

ฟัง ดู  พูด อย่างมีวิจารณญาณ

และสร้างสรรค์

๔.๑ พูดในโอกาสต่างๆโดยแสดงทัศนะโต้แย้ง โน้มน้าวใจอย่างเหมาะสม

๙. สามารถพูดแสดงทัศนะและพูดโน้มน้าวใจเสนอแนวคิดด้วยภาษาที่ถูกต้องได้

แผ่นบันทึกเสียง

 

๕.

วรรณคดีมีคุณค่า

๕.๑. วิเคราะห์ลักษณะวรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต

 

๑๐.สามารถวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมด้านต่างๆนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๕

ใบความรู้

หนังสือวรรณคดี

 

                                                                                                                   

ที่

ชื่อหน่วย

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลา

น้ำหนักคะแนน(ร้อยละ)

แหล่งเรียนรู้

สื่อ

การบูรณาการ

 

 

 

 

 

 

๕.๒.  วิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

 

 

 

 

 

 

 

คำสำคัญ (Tags): #หลักสูตร
หมายเลขบันทึก: 504422เขียนเมื่อ 3 ตุลาคม 2012 20:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 ตุลาคม 2012 20:26 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท