การจัดการศึกษาตามนโยบายเรียนดีเรียนฟรี 15 ปี


ถึงเวลาที่กระทรวงศึกษาฯต้องทบทวนนโยบาย ต่างๆ ได้แล้ว ปัญหาใหญ่ที่พบคือการศึกษาไทย แย่ลงกว่า 10 ปีที่ผ่านมา การศึกษาล้มเหลว เป็นผลมาจากการบริหารจัดการ ของกระทรวง ศึกษาธิการ ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่

I read (below) and wondered about the points that Thailand's Auditor General on Education made:

1) มีเพียง ผลการประเมินจากกระทรวงศึกษาธิการของไทย เท่านั้นที่ชี้ว่าผู้เรียนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 7 ใน 8 กลุ่มสาระวิชา

2) ถึงเวลาที่กระทรวงศึกษาฯต้องทบทวนนโยบาย ต่างๆ ได้แล้ว ปัญหาใหญ่ที่พบคือการศึกษาไทย แย่ลงกว่า 10 ปีที่ผ่านมา การศึกษาล้มเหลว เป็นผลมาจากการบริหารจัดการ ของกระทรวง ศึกษาธิการ ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่

3) การจัดการศึกษาควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไก ของตลาด เพราะการที่รัฐบาลไปอุดหนุนให้โรงเรียนทุกอย่าง โรงเรียนก็ต้องจัดตามงบประมาณที่ได้รับมา ซึ่งมีส่วนให้การศึกษาแย่ลง

What do you think? About the Ministry of Education's performance and assessment of its own performance; about Thailand's national policy of providing education -- as a free market system or a 'public donation'/subsidy system.

We say education is a main pillar for Thailand's future. Let us discuss systems of education in Thailand in more details. Let us list problems and classify/categorize them. Let us see if The Ministry of Education can't do the job 'as good as we can expect for our children', then what we can do for our children.

We can't just shake our head and leave things as they are. But we have enough of quick change and fast reform from a hip pocket. We need to understand the problems as "our problems" and solve them for "our children".

 

source: วันที่ 17/2/2012 http://www.naewna.com/news.asp?ID=301490

...ผลการจัดอันดับด้านการศึกษา จากสถาบันไอเอ็มดี พบคุณภาพผู้เรียนไม่ดีขึ้น มีแนวโน้มลดต่ำลงหลังจากที่ใช้นโยบายนี้ มีเพียง ผลการประเมินจากกระทรวงศึกษาธิการของไทย เท่านั้นที่ชี้ว่าผู้เรียนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 7 ใน 8 กลุ่มสาระวิชา

...ผลวิจัยยังพบ นโยบายเรียนฟรี 15 ปี ขัดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 49 ที่ระบุว่า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งรัฐยังไม่ สามารถดำเนินการได้ตามที่ระบุไว้ แม้จะมีรายการเรียนฟรี แต่ก็ฟรีเพียง 5 รายการเท่านั้น ผู้ปกครองมีความเข้าใจว่าเรียนฟรี หมายถึงฟรีทุกรายการ ในขณะที่รัฐบาลนิยาม การเรียนฟรีเพียง 5 รายการ คือ ชุดเครื่องแบบ นักเรียน หนังสือเรียนแปดกลุ่มสาระ อุปกรณ์การเรียน กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน และเงินค่าเล่าเรียน ผู้ปกครองต้องเสียค่าใช้จ่ายแฝงอื่นที่โรงเรียนเรียกเก็บเพิ่ม เช่น ค่าแอร์ ค่าเรียนเสริม คอมพิวเตอร์ ซึ่งทั้งฝ่ายครูและผู้ปกครองเห็นว่า นโยบายนี้ไม่ทำให้เด็กเรียนดีขึ้น และไม่ได้ลด ภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองจริง นายศรีราชากล่าว และว่า ผลการวิจัยที่ออกมา ตนคิดว่า ถึงเวลาที่กระทรวงศึกษาฯต้องทบทวนนโยบาย ต่างๆ ได้แล้ว ปัญหาใหญ่ที่พบคือการศึกษาไทย แย่ลงกว่า 10 ปีที่ผ่านมา การศึกษาล้มเหลว เป็นผลมาจากการบริหารจัดการ ของกระทรวง ศึกษาธิการ ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ตนคิดว่า การจัดการศึกษาควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไก ของตลาด เพราะการที่รัฐบาลไปอุดหนุนให้โรงเรียนทุกอย่าง โรงเรียนก็ต้องจัดตามงบประมาณที่ได้รับมา ซึ่งมีส่วนให้การศึกษาแย่ลง...

หมายเลขบันทึก: 478972เขียนเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2012 05:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 13:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (14)

ผมเห็นด้วยครับ ว่าระบบการศึกษาไทยจำเป็นต้องทบทวน...และทบทวนอย่างจริงจัง

การสนับสนุนทรัพยากรอย่างเดียว

ไม่ช่วยระบบการศึกษาเราเลยครับ

สวัสดีครับ ทิมดาบ Ico48

Please forgive me for replying very late.

We had a change in 'teaching approach' (from 'rote learning' to 'student center' [or 'child centred'] -- from 'giving instructions' to 'giving work orders'; from 'teacher' to 'facilitator'; from 'reading and doing homework' to 'surfing [the Net] and doing project work';...) We can expect 'changes' in many areas. We expect the Ministry of Education will be orchestrating [co-ordinating] the changes and smoothening out ill effects. But we are disappointed. ME did not seem to respond to the challenge in the way we expect but adding more chaotic events and modifying more unstable conditions that schools and universities find confusing and unable to 'shoot the same target'.

ME seems to have self-assessed and patted itself -- on its performance while trillions baht run into the Gulf of Thailand...

A computer tablet would lighten the load on a child's back but how much load will be added on parents' back, we wonder...

สวัสดีค่ะ

พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง...ค่ะ

How are you KruDala Ico48?

I have in mind a space to voice our concerns about a prime factor of success for everyone, the nation and the next generations:

  เราควรจะมองหา ทางเปลี่ยนปรับ ให้เรา สังคมและประเทศชาติ มีพลานามัยและความพร้อมเพียง พอรับการต่อสู้แข่งขันแย่งชิงที่เพิ่มขึ้นในโลก

  การฝึกฝนสร้างทักษะ คิดวิเคราะห์ พูดแสดง และ ปฎิบัติทำ อย่างซื่อตรง สง่างามและเปิดเผย เป็นสิ่งที่เราสมควรทำ เป็นตัวอย่างให้ลูกหลานลูกศิษย์ ให้เกิดความเชิ่อมั่นในความเป็นคนไทย มีสิทธิ เสรีภาพ และความสง่างาม ของผู้มีคุณความดี

  เราจะนิ่งเงียบ เหมือนพระ(พุทธ)รูป ไม่รู้ร้อน?

  หรือเราจะเลิกเป่าสาก แต่จับสากโขลกทุบให้เครื่องเข้าเนื้อ เหมาะสมกับงาน?

 

เรียนท่าน sr เห็นด้วยที่ควรทบทวน ในวงสนทนาประเด็นเมืองลุงน่าอยู่ เรื่องคุณภาพชีวิต และการศึกษา มีการเสนอว่า การยกระดับวิทยฐานะ คศ 3 ของคนพัทลุง ต่อไปจะต้องประครูจากผลกาเรียนของเด็ก ให้เด็กและผู้ปกครองร่วมประเมิน นี้เป็นแนวคิดแต่ยังไม่ได้ข้อสรุป

Dear วอญ่า-ผู้เฒ่า-natachoei-- Ico48

So I have heard many "unhappy stories" about "คศ 3 ครูชำนาญการพิเศษ สาระวิชา". Originally, it aimed to promote teachers who become a "master" (a real expert) in a skill or a field of knowledge -- much like a "doctor of science or medicine" in the old tradition of old European "professor" concept (which gave honour to 'excellent masters of skills' over a long period of time).

But today, we only look at certain one-time individual efforts in one copy of a 'standard statistical assessment' (we know all that 80% students' satisfaction, 80% success rate on one sample or experiment, ... -- as the indicator of 'excellence' or 'mastery of a skill').

There is no consideration for evidence of long term betterment in the students, the school or the public at large. There are many examples of คศ 3 from a one time experiment on spelling class of 30 students where the result of the experiment (on paper presented) satisfies the statistical criteria (as specified in a template). That's it.

I can see why the good people of เมืองลุงน่าอยู่ would want to get involved. Their children deserve more than this type of คศ 3 ครูชำนาญการพิเศษ สาระวิชา.

Change is evitable, but sometimes change is very very slow ;-)

อาจารย์ครับ ผมเห็นด้วยกับอาจารย์ที่ไปแบ่งปันบันทึกของผม...ขอบคุณมากครับ

และผมเห็นด้วย กับพี่วินทร์ จาก http://www.winbookclub.com/takedetail.php?quizid=1437

เอามาให้อาจารย์อ่านด้วยครับ

"....ในความเห็นของผม เราใช้คำว่า การศึกษา ผิดความหมายมาโดยตลอด

เรามักใช้คำว่า การศึกษา ในความหมายว่า เรียนจากโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย ดังนั้นคนที่เรียนจบจากโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัยก็คือคนมีการศึกษา

ผมเห็นว่า มันไม่ใช่เลยแม้แต่น้อย

คนที่มีการศึกษาคือคนที่มีความรู้และปัญญา มีจริยธรรม รู้ผิดรู้ถูก และนำความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ต่างหาก

ผิดจากนี้ไม่ถือว่ามีการศึกษา

ถ้าเรียนจบปริญญาโทสองใบ ยังไหว้ราหู ก็แสดงว่ายังไม่มีการศึกษา

จบด็อกเตอร์เมืองนอกเมืองนา แต่รับใช้นักการเมืองเหี้ยๆ (ขอโทษนิ้วมือพาไป แต่ขี้เกียจลบ) ก็คือไม่มีการศึกษา

ในความเห็นของผม ชาวนาที่ไม่เคยเข้าโรงเรียน แต่มีความรู้ด้านเกษตร นำมาพัฒนาหมู่บ้าน ก็คือคนมีการศึกษา

คนปิ้งปลาหมึกขาย ไม่ได้จบที่ไหน แต่รู้วิธีปิ้งปลาหมึกและหากินอย่างสุจริต พอเพียง เลี้ยงลูกจนโต ก็คือคนมีการศึกษา

อีกจุดหนึ่งที่ผมเห็นว่าเราใช้กันผิดๆ ก็คือคำว่า ความรู้กับปัญญา

การมีความรู้คือ รู้วิธีทำเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่นรู้ว่าจะผ่าตัดคนไข้ยังไง รู้ว่าจะสร้างบ้านยังไง รู้ว่าจะว่าความในศาลยังไง นี่คือมีความรู้

แต่หากไปว่าความให้โจรปล้นประเทศหรือนักการเมืองเหี้ยๆ (ขอโทษนิ้วมือพาไปอีกแล้ว แต่ขี้เกียจลบเหมือนเดิม) ก็คือมีความรู้ แต่ไม่มีปัญญา คือใช้ความรู้ไปในทางที่ไม่ถูกต้อง

ดังนั้นคนมีความรู้ไม่ได้เป็นคนมีปัญญาเสมอไป

เชื่อไหมว่าสมัยฮิตเลอร์ครองเมือง นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลบางคนยังออกมาแสดงความชื่นชมฮิตเลอร์อย่างคลั่งไคล้

เรียนจบสูง ความรู้มาก จึงไม่ใช่คนมีคุณภาพเสมอไป

ก็ภาวนาว่าผู้กำหนดนโยบายการศึกษาของชาติจะรู้เรื่องนี้แจ่มแจ้ง..."

Thank you for your article and thank for khun Tim-Dab letting me see your post.

We had a change in 'teaching approach' (from 'rote learning' to 'student center' [or 'child centred'] -- from 'giving instructions' to 'giving work orders'; from 'teacher' to 'facilitator'; from 'reading and doing homework' to 'surfing [the Net] and doing project work'

...

I try to change my teaching style in the recent years yet pretty fragile.

From my experience what is the real obstable is "believe" of instructurs.

Some people have fixed believe that Thai students never ever be able to know what they should learn

" That method is good but not suite with Thai students" I heard.

I wonder even we have totally free education will it improve student's quality.

Is it better to invest in changing educators' believe ?

Thank you for your article and thank for khun Tim-Dab letting me see your post.

We had a change in 'teaching approach' (from 'rote learning' to 'student center' [or 'child centred'] -- from 'giving instructions' to 'giving work orders'; from 'teacher' to 'facilitator'; from 'reading and doing homework' to 'surfing [the Net] and doing project work'

...

I try to change my teaching style in the recent years yet pretty fragile.

From my experience what is the real barier is "believe" of instructurs.

Some people have fixed believe that Thai students never ever be able to know what they should learn

" That method is good but not suite with Thai students" I heard.

I wonder even we have totally free education will it improve student's quality.

Is it better to invest in changing educators' believe ?

Dear ทิมดาบ

Yes, there are many more people, other than I, who are not happy with the way 'education' is promoted and run.

The "15,000 baht base-salary for a degree" is one BIG BAD policy in terms of giving institutional education more advantages over other forms of learning and performing (for excellence).

We can see what happened in the past (10-15 years ago) when graduates drove buses or collected fares on buses because of lack of demand for graduates but strong demand for workers who were willing to work long hours in tedious and monotonous jobs. Many jobs are not taught but learned by practicing and observing finer details. (university education is about 'logical deduction/inference' -- only one of many pathways to excellence.)

It is this 'promotion of one education pathway' (out of many efficient pathways) that I believe should be corrected. We should be able to explore and follow any learning pathway that best suited our circumstances and preferences.

Street sweepers should be granted reward for excellence in cleaning and maintaining our local environment. Street food vendors would be rewarded for excellence by their customers. Public servants should be rewarded by their work performance. ...

Dear Doctor ป. Ico48

I am with you on your observation of a belief that "Thai students never ever be able to know what they should learn...". 

Beliefs and cultural backgrounds are important factors in education. Some parents are liberal and allow their children to follow their wish. Institutions are much less liberal and run to more restricted expectation both academically and financially. Furthermore, processes in education take time to produce results (15 years for preschool-to-high school, another 4 years for a batchelor degree, 1-4 years for a higher degree, leaving only some 35 years to work and achieve excellence in mostly difficult conditions: like not enough funding, not enough 'trust' and 'support', language proficiency, cross-cultural and cross-disciplinary collaboration, ...). The rate of progress in education is thus slow.

One pathway in education is through religious institions. There are reasons that some people will object to learning in one religion or another. The facts are that religious teaching is thousands of years in operation. Many teaching and learning techniques are developed and fine tuned to levels of excelence. Some techniques are common across religions (for examples 'uposath'/group prayer/'mass'; special events for remembrance/celebration; recite/interpretation discussion, ...).

Is 'free education' (in religious sense and political sense) suitable to transport our children and our society into the 21st century and beyond? Do we have a 'reasonable' way to make prediction? And in case of many possible ways, to assess possible results and compare them? Would our answers be: "it's depends on our beliefs and culture."?

There are more to think about when we try to think for our country. It may be much easier to think for just 'our chidren' ;-)

We have additional information (as reported วันที่ 2/3/2012 http://www.naewna.com/news.asp?ID=303364)

"ข่าวการศึกษา-วัฒนธรรม
...เรียนฟรีไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ทุกอย่างใช้แบบเดิมๆเพราะของบไปแล้ว
... เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน... เปิดเผยถึงนโยบายการเรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีการศึกษา 2555 นี้ว่า ยังคงไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากนักเนื่องจากได้ของบประมาณในการดำเนินการในเรื่องนี้ไปแล้ว อย่างไรก็ตาม หากจะมีการยืดหยุ่นบ้างก็จะต้องไปพิจารณาว่าจะสามารถยืดหยุ่นในจุดใดได้บ้าง สำหรับงบฯปีการศึกษา 2556 นั้น สพฐ.กำลังกำหนดสูตรในการจัดสรรเงินอุดหนุนรายหัวเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมมากขึ้น โดยสพฐ.จะนำผลการวิจัยของม.ธรรมศาสตร์ มาพิจารณาประกอบในการกำหนดสูตรดังกล่าวนี้ สำหรับรายการที่รัฐจะจัดสรรให้นักเรียนยังคงมี 5 รายการเมือนเดิม ส่วนค่าพาหนะในการเดินทางให้กับนักเรียนเดิมมีอยู่แล้ว ดังนั้น ก็จะยังคงมีเหมือนเดิมต่อไป และขณะนี้ สพฐ.กำลังสำรวจการใช้ค่าพาหะนะที่จัดบริการไม่ปลอดภัย โดยดูการเดินทางของนักเรียนทั้งเรื่องความปลอดภัยและคุณภาพรถที่ใช้รับ-ส่งนักเรียนที่มีสภาพเก่าและไม่จำกัดที่นั่ง จนเด็กต้องปีนขึ้นไปนั่งบนหลังคาทำให้เกิดอัตราย ... รวมถึงจะต้องทำนโยบายพิเศษขึ้นมา แต่ก็ยังคงรักษาการให้สิทธิกับทุกคน ส่วนที่เพิ่มการช่วยเหลือให้กับผู้ด้อยโอกาสนั้นก็เพื่อต้องการลดความเหลื่อมล้ำของนักเรียนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสให้มากขึ้น ดังนั้น หาก สพฐ.ใช้สูตรใหม่ในการอุดหนุน ก็คงไม่ต้องรณรงค์ให้ผู้ที่มีฐานะดีบริจาคให้กับคนยากจนอีกแล้ว เพราะคนที่มีฐานะดีก็ได้รับการอุดหนุนขั้นพื้นฐานไปตามสิทธิ ส่วนคนด้อยโอกาสก็จะได้รับการอุดสนุนเพิ่มขึ้น แต่จะได้รับเพิ่มเท่าใดนั้นจะต้องรอสูตรใหม่ที่จะนำมาใช้ด้วยว่าจะกำหนดจุดเริ่มต้นอยู่ที่เท่าไร ทั้งนี้ สพฐ.จะหารือกับสำนักงบฯ ว่าจะสามารถใช้ดัชนีค่าครองชีพมาประกอบการให้อุดหนุนเพิ่มได้หรือไม่ สำหรับปีการศึกษา 2556 เนื่องจากปีการศึกษา 2555 ไม่สามารถดำเนินการได้ทัน...

"เรียนฟรี 15 ปี"

  • ฟังแล้วเจ็บปวด สำหรับคนที่ส่งลูกเรียนโรงเรียนเอกชน
  • หักลบแล้ว ผู้ปกครองยังคงจ่ายค่าหนังสือเรียนของลูก 1,000 กว่าบาท
  • เงินค่า เสื้อผ้า ชัน ม.2 ได้ 450 บาท  ซื้อชุดลูกเสือได้ไม่ถึงชุดด้วยซ้ำ
  • ในขณะที่เบิืกค่าเล่าเรียนได้เพียงภาคเรียนละ 1,317 (ทั้ง ๆ ทืั้จ่ายไปเกือบ 5,000)
  • เมื่อวานลูกยังมาบอกว่า คุณครูขอเก็บค่า "อาเซียนศึกษา" อีก 800 บาท เพราะต้องจ้างครูฝรั่งมาสอนการพูดภาษาอังกฤษ
  • เรียนฟรี 15 ปี  ไม่มีอะไรดีสำหรับฉันเลยสักนิด สรุปแล้วฉันต้องจ่ายให้โรงเรียนมากกว่าเิดิมด้วยซ้ำ
  • น้องจะใช้หนังสือเรียนของพี่ก็ไม่ได้  เพราะโรงเรียนบังคับซื้อ
  • สมัยฉันเด็ก ๆ จำได้ว่า พอโรงเรียนปิดเทอม ทุกคนก็จะตระเวนหาหนังสือเก่าจากรุ่นพี่ที่ขึ้นชั้นใหม่  แทบไม่ต้องจ่ายค่าหนังสือเลยด้วยซ้ำ 

 

I hear what you say. I know the pain. When government and Ministries, those who are supposed even swear to serve people, exploit their positions to take adbantages of people, what should we call them? How can we be proud to cheat and to fraud everyone around us. Shame! Shame! Shame!

How can we smile in this land when we get vulures tearing up our lives ... left, right and centre. It is time, we throw away these dukkha creating policies and tools. It is for Good, again.

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท