บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก : นโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทย


 

       วันนี้ได้ฟังการบรรยาย เรื่องบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก : นโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทย โดย อาจารย์อิศร ปกมนตรี เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ ณ ห้องประชุม สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จึงได้สรุปสาระเนื้อหาเป็น mindmap ให้เห็นภาพรวมขององค์ความรู้ดังต่อไปนี้

 

 

 

1 ลักษณะสำคัญ ของนโยบายต่างปท.ของรัฐบาลไทย

1.1 การกำหนดนโยบายต่างปท. ของไทย

1.2 จุดเด่นของนโยบายต่างปท. ของไทยในยุคสมัยต่างๆ

1.2.1 ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2

1.2.2 ยุคสงครามเย็น

1.2.3 ยุครัฐบาลพรรคกิจสังคม(เม.ย. 2518).

1.2.4 ยุคการเมืองนำเศรษฐกิจ

1.2.5 ยุคเศรษฐกิจนำการเมือง

1.2.6 ยุคประชาชนเป็นหลัก

2 นโยบายต่างปท.ของ รัฐบาลชุดปัจจุบัน      โดยสังเขป

2.1 พัฒนาความสัมพันธ์กับปท.เพื่อนบ้าน ในทุกมิติและทุกระดับ

2.1.1 เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี และการเคารพซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดเสถียรภาพ ความมั่นคง และความเจริญรุ่งเรืองของภูมิภาค

2.1.2 โดยส่งเสรมความร่วมมือในทุกสาขา กับปท.เพื่อนบ้านโดยสันติวิธีบนพื้นฐาน ของสนธิสัญญาและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง

2.2 ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อสร้างความแข็งแกร่ง ของอาเซียนในวาระที่ไทยดำรงตำแหน่งประธาน อาเซียนตามกฏบัตรอาเซียน

2.2.1 โดยให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มี ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

2.2.2 ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกร่วมกัน เคารพในสิทธิมนุษยชน

2.2.3 ผลัแดันให้อาเซียนมีบทบาทหน้าที่ สร้างสรรค์ในเวทีระหว่างประเทศ

2.2.4 ขยายความร่่วมมือกับประเทศในเอเซียอื่นๆ ภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆทั้งใน ภูมิภาคเอเซียและระหว่างเอเซียกบภูมิภาคอื่น

2.3 ส่งเสริมความร่วมมืออย่างใหล้ชิดกับปท.มุสลิม และองค์กรมุสลิมระหว่างปท.

2.3.1 เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องและสนับสนุน แนวทางการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย

2.4 กระชับความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่่วนทางยุทธศาสตร์ กับปท.ที่มีบทบาทสำคัญในโลกและปท.คู่ค้าของไทย ในภูมิภาคต่างๆ

2.4.1 เพื่อรักษาและขยายความร่วมมือ

ทางการเมือง

ความมั่นคง

เศรษฐกิจ

การค้า

การเงิน

การลงทุน

การท่องเที่ยว

2.4.2 เพื่อพัฒนาความร่วมมือด้าน

ทรัพยากร

วัตถุดิบ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

องค์ความรู้ใหม่

2.5 ส่งเสริมการมีบทบาทร่วมมือกบประชาคมโลกในเรื่อง

2.5.1 การกำหนดบรรทัดฐานระหว่างปท. โดยเฉพาะเรือง การค้าสินค้าเกษตร และกฏระเบียบด้านทรัพย์สินทางปัญญา การปกป้องรักษาและฟื้นฟูสันติภาพ และความมั่นคง การส่งเสริมและคุ้มครองค่านิยมประชาธิปไตย

2.6 สนับสนุนการเข้าร่วมในข้อตกลงระหว่างประเทศ ทั้งทวิภาคีและพหุภาคีที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศ

2.7 ส่งเสริมการรับรู้และเข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงโลกที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย

2.8 สร้างความเชื่อมั่นของต่างประเทศต่อประเทศไทย และการเข้าถึงระดับประชาชน

2.9 คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและผลประโยชน์ของคนไทย แรงงานไทยภาคธุรกิจเอกชนไทยในต่างประเทศ

3 พันธกิจสำตัญอันเนื่องมาจากข้อตกลง ระหว่างประเทศนั้น ๆ

3.1 กับองค์การระหว่างปท.ต่างๆ

3.1.1 กฏบัตรสหประชาชาติ

3.1.2 ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคง แห่งสหประชาชาติ

3.1.3 ข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติ

3.2 กับแต่ละปท.(ทวิภาคี)

3.2.1 การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต

3.2.2 ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตรา

3.2.3 ความตกลงว่าด้วยการบริการการบิน

3.2.4 อนุสัญญาว่าด้วยการยกเว้นการเก็บภาษีซ้อน

3.2.5 สนธิสัญญาว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน

3.2.6 ความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน

3.2.7 ความตกลงว่าด้วยเขตการค้าเสรี

3.2.8 ความตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือด้านการทหาร

3.3 กับประเทศต่างๆ(พหุภาคี)

3.3.1 อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต

3.3.2 อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการกงศุล

3.3.3 อนุสัญญาไมตรีและความร่วมมือแห่งเอเซียตะวันออก เฉียงใต้ 2519

3.3.4 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฏหมายทะเล

3.3.5 พิธีสารเกียวโต

3.4 กับกรอบความร่วมมือต่างๆ

3.4.1 ปฏิญญากรุงเทพ

3.4.2 กฏบัตรอาเซียน

4 การเตรียมความพร้อมของ ประชากรไทยต่อข้อกำหนด เนื่องมาจากนโยบายต่างประเทศ

4.1 การเป็นประตูสู่ประเทศเพืื่อนบ้านใน จังหวัดที่มีเขตแดนติดต่อ

4.2 การเสริมสร้างหรือแสวงหาความรู้และ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน

4.3 การให้ความร่วมมือในการต่อต้าน การก่อความไม่สงบในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ และการทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ความแตกต่างระหว่างศาสนาอิสลามกับ วัฒนธรรมอาหรับ

4.4 การวางแผนเพื่อให้เป็นที่นับถือ ของประเทศที่มีความสำคัญ ในเวทีโลก

4.5 การปฏิบัติตามพันธของความตกลง ระหว่างประเทศต่างๆ

4.6 การติดตามและสร้างความเข้าใจ ต่อความเป็นไปในโลก

4.7 การสร้างภาพลักษณ์ที่เหมาะสมในสายตา ของต่างประเทศ

4.8 การเคารพกฏระเบียบของประเทศ เจ้าบ้านในระหว่างการพำนักใน ประเทศนั้น ๆ

5 บทบาทของสถานศึกษา ที่สนับสนุนนโยบายต่างประเทศ

5.1 การสร้างทัศนคติที่ถูกต้องต่อ ต่างประเทศโดยเฉพาะปท.เพื่อนบ้าน

5.2 การให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน

5.3 การให้ความรู้เกี่ยวกับศาสนาต่างๆ

5.4 การสนับสนุนให้มีความสนใจ และเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ ในต่างปท.ตลอดจนผลกระทบ ที่พึงมีต่อ ปท.ไทย

5.5 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเดินทาง ไปต่างปท. อย่างถูกต้อง

 

หมายเลขบันทึก: 446637เขียนเมื่อ 30 มิถุนายน 2011 00:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สวัสดีครับ อาจารย์ นโยบาย เป็นเรื่องละเอียดอ่อนมาก กกับทางด้านต่างประเทศ เราควรอ่อนโยน แต่ไม่อ่อนแอ นุ่มนอกแข็งใน นิสิตผู้นำมาแจม

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท