บันทึกการเมืองไทย : ระวังผลร้ายของนโยบายประชานิยมด้านสุขภาพ


การจะให้ประชาชนมีสุขภาพดีต้องดำเนินการหลายมิติ ทั้งด้านการสนับสนุนการผลิตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรสุขภาพอื่นๆ ให้เพียงพอ และให้ทำงานในระบบบริการของรัฐได้อย่างมีความสุข งานไม่หนักเกินไปจนทนไม่ไหว ลาออกไปทำงานในภาคบริการเอกชน ที่งานเบากว่าและค่าตอบแทนสูงกว่ามาก


          นสพ. เดอะ เนชั่น ฉบับวันที่ ๑๘ มิ.ย. ๕๔ ลงบทบรรณาธิการเรื่อง Free Treatment, But Where is the Medical Staff? Populist health schemes sound good but cannot work unless the government helps to provide enough doctors and nurses to run them

          การประกาศหาเสียงว่าหากได้รับเลือกตั้งจะจัดบริการให้ดียิ่งขึ้น   จะลงทุนให้งบประมาณด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นนั้น   เป็นการหาเสียงแบบตื้นๆ เพียงเพื่อให้ดึงดูดผู้ลงคะแนน   การจะให้ประชาชนมีสุขภาพดีต้องดำเนินการหลายมิติ   ทั้งด้านการสนับสนุนการผลิตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรสุขภาพอื่นๆ ให้เพียงพอ   และให้ทำงานในระบบบริการของรัฐได้อย่างมีความสุข   งานไม่หนักเกินไปจนทนไม่ไหว ลาออกไปทำงานในภาคบริการเอกชน ที่งานเบากว่าและค่าตอบแทนสูงกว่ามาก

          นอกจากนั้น สุขภาพดีต้องเริ่มที่ตนเอง ต้องมุ่งพึ่งตนเอง ปฏิบัติตัวเองด้านสร้างเสริมสุขภาพเป็นหลัก ไม่ใช่มุ่งพึ่งระบบบริการเป็นหลักหลังจากสุขภาพทรุดโทรมเพราะไม่ดูแลตัวเอง

          ผมมีความเห็นว่านโยบายประชานิยม เป็นการมอมเมาประชาชน

วิจารณ์ พานิช
๑๘ มิ.ย. ๕๔

         
       

หมายเลขบันทึก: 444973เขียนเมื่อ 20 มิถุนายน 2011 10:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 19:44 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท